3.1.5 คำอธิบายรายวิชา
1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป
GE 01101 | ศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาท้องถิ่น King’s Philosophy Towards Local Development | 3(3-0-6) |
ศาสตร์พระราชากับการพัฒนาที่ยั่งยืน ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โครงการพระราชดำริ โครงการต้นแบบการพัฒนา ภาคีเครือข่ายร่วมพัฒนา เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน วิศวกรสังคม ภูมิปัญญาท้องถิ่น บทบาทของมหาวิทยาลัยราชภัฏกับการพัฒนาท้องถิ่นKing’s Philosophy and sustainable development; Philosophy of Sufficiency Economy; The Royal Initiative Project; development prototype project; network partners to participatory development; technology and innovation for sustainable development; social engineer; local wisdom; roles of Rajabhat University in local development | ||
GE 01201 | วิถีพลเมืองและกฎหมายในชีวิตประจำวัน Civil Way and Law in Daily Life | 3(3-0-6) |
สิทธิและหน้าที่ของพลเมืองไทยภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน การส่งเสริมการสร้างบ้านเมืองสุจริต คุณธรรมและความโปร่งใส กฎหมายที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิต หลักการและสาระสำคัญของกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ กฎหมายอาญา กฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง Constitutional rights and duties of Thai citizen; public participation in state activities; promoting the principle of good faith; integrity and transparency; law in daily life; general principle on Civil and Criminal Codes; other relevant laws | ||
GE 01202 | พลวัตสังคมไทยและสังคมโลก Dynamics of Thai and Global Society | 3(3-0-6) |
พลวัตสังคมโลกและสังคมไทยในมิติทางการเมือง เศรษฐกิจ การศึกษา วัฒนธรรม วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี บุคคลสำคัญที่มีคุณูปการต่อพลวัตในสังคมไทย การอยู่ร่วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรม บทบาทภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชนในการสร้างสังคมสันติสุขDynamics of Thai and global society in political, economic, educational, cultural, sciences and technological dimensions; important person and their contributions into the dynamics of Thai society; living together in multicultural society; the government sector, the private sector, and the public sector to enhancing a peaceful society | ||
GE 02101 | ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในยุคดิจิทัลEnglish Communication in Digital Age | 3(3-0-6) |
คำศัพท์ สำนวน และไวยากรณ์ภาษาอังกฤษที่ใช้ในสถานการณ์ต่างๆ ทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในยุคดิจิทัล การบูรณาการทักษะการใช้ภาษาอังกฤษอย่างสร้างสรรค์ภายใต้ความหลากหลายทางวัฒนธรรมและบริบทการใช้ภาษาอังกฤษระดับโลก Vocabulary, expressions, and English grammar used in different situations; English listening, speaking, reading, and writing skills for communication in Digital Age; creative integration of the four skills regarding cultural diversity and context of World Englishes | ||
GE 02102 | ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารร่วมสมัย Thai for Contemporary Communication | 3(3-0-6) |
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษาและการสื่อสาร ลักษณะของภาษา การใช้ภาษาไทยอย่างมีวิจารณญาณในบริบทสังคมร่วมสมัย วัฒนธรรมการใช้ภาษา ทักษะการฟัง พูด อ่าน เขียน เพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะอย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์ การบูรณาการทักษะภาษาเพื่อสร้างสรรค์ผลงานและการสื่อสารผ่านเทคโนโลยีอย่างเหมาะสมFundamental knowledge about language and communication, characteristics of the Thai language, critical usage of Thai language in contemporary social context, culture of language usage, critical and creative listening, speaking, reading and writing skills for specific purposes, language skill integration to create work and communication through proper technologies | ||
GE 02201 | การรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศMedia and Information Literacy | 3(3-0-6) |
หลักการใช้สื่อและสารสนเทศในบริบทสังคมปัจจุบัน ทักษะพื้นฐานของการรู้เท่าทันสื่อ การสืบค้นข้อมูล การรวบรวมและเรียบเรียงข้อมูล การเขียนรายงานและการอ้างอิง เทคนิคการนำเสนอข้อมูลผ่านสื่อPrinciples of using media and information in current social context; basic skill of media literacy; information retrieval; data collection and compilation; report writing and citations; techniques for data presentation via media | ||
GE 02202 | ภาษาเกาหลีในชีวิตประจำวันKorean Language in Daily Life | 3(3-0-6) |
ลักษณะของภาษาเกาหลี คำศัพท์ ไวยากรณ์ ทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียนภาษาเกาหลีเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจำวัน วิถีชีวิตและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา การบูรณาการทักษะการใช้ภาษาเกาหลีอย่างสร้างสรรค์ Characteristics of Korean language; vocabulary; grammar; listening, speaking, reading and writing of Korean language skills for communication in daily life; way of life and culture of native speakers; integrating Korean language skills creatively | ||
GE 02203 | ภาษาเขมรในชีวิตประจำวันKhmer Language in Daily Life | 3(3-0-6) |
ลักษณะของภาษาเขมร คำศัพท์ ไวยากรณ์ ทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียนภาษาเขมร เพื่อการสื่อสารในชีวิตประจำวัน วิถีชีวิตและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา การบูรณาการทักษะการใช้ภาษาเขมรอย่างสร้างสรรค์ Characteristics of Khmer language; vocabulary; grammar; listening, speaking, reading and writing of Khmer language skills for communication in daily life; way of life and culture of native speakers; integrating Khmer language skills creatively | ||
GE 02204 | ภาษาจีนในชีวิตประจำวันChinese Language in Daily Life | 3(3-0-6) |
ลักษณะของภาษาจีน คำศัพท์ ไวยากรณ์ ทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียนภาษาจีนเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจำวัน วิถีชีวิตและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา การบูรณาการทักษะ การใช้ภาษาจีนอย่างสร้างสรรค์ Characteristics of Chinese language; vocabulary; grammar; listening, speaking, reading and writing of Chinese language skills for communication in daily life; way of life and culture of native speakers; integrating Chinese language skills creatively | ||
GE 02205 | ภาษาญี่ปุ่นในชีวิตประจำวันJapanese Language in Daily Life | 3(3-0-6) |
ลักษณะของภาษาญี่ปุ่น คำศัพท์ ไวยากรณ์ ทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียนภาษาญี่ปุ่นเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจำวัน วิถีชีวิตและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา การบูรณาการทักษะการใช้ภาษาญี่ปุ่นอย่างสร้างสรรค์ Characteristics of Japanese language; vocabulary; grammar; listening, speaking, reading and writing of Japanese language skills for communication in daily life; way of life and culture of native speakers; integrating Japanese language skills creatively | ||
GE 02206 | ภาษามลายูในชีวิตประจำวันMalay Language in Daily Life | 3(3-0-6) |
ลักษณะของภาษามลายู คำศัพท์ ไวยากรณ์ ทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียนภาษามลายูเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจำวัน วิถีชีวิตและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา การบูรณาการทักษะการใช้ภาษามลายูอย่างสร้างสรรค์ Characteristics of Malay language; vocabulary; grammar; listening, speaking, reading and writing of Malay language skills for communication in daily life; way of life and culture of native speakers; integrating Malay language skills creatively | ||
GE 02207 | ภาษาลาวในชีวิตประจำวันLao Language in Daily Life | 3(3-0-6) |
ลักษณะของภาษาลาว คำศัพท์ ไวยากรณ์ ทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียนภาษาลาวเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจำวัน วิถีชีวิตและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา การบูรณาการทักษะการใช้ภาษาลาวอย่างสร้างสรรค์ Characteristics of Lao language; vocabulary; grammar; listening, speaking, reading and writing of Lao language skills for communication in daily life; way of life and culture of native speakers; integrating Lao language skills creatively | ||
GE 02208 | ภาษาเวียดนามในชีวิตประจำวันVietnamese Language in Daily Life | 3(3-0-6) |
ลักษณะของภาษาเวียดนาม คำศัพท์ ไวยากรณ์ ทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียนภาษาเวียดนามเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจำวัน วิถีชีวิตและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา การบูรณาการทักษะการใช้ภาษาเวียดนามอย่างสร้างสรรค์ Characteristics of Vietnamese language; vocabulary; grammar; listening, speaking, reading and writing of Vietnamese language skills for communication in daily life; way of life and culture of native speakers; integrating Vietnamese language skills creatively | ||
GE 02209 | ภาษาสเปนในชีวิตประจำวันSpanish Language in Daily Life | 3(3-0-6) |
ลักษณะของภาษาสเปน คำศัพท์ ไวยากรณ์ ทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียนภาษาสเปนเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจำวัน วิถีชีวิตและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา การบูรณาการทักษะการใช้ภาษาสเปนอย่างสร้างสรรค์ Characteristics of Spanish language; vocabulary; grammar; listening, speaking, reading and writing of Spanish language skills for communication in daily life; way of life and culture of native speakers; integrating Spanish language skills creatively | ||
GE 03101 | ชีวิตดีมีความสุขHealthy and Happy Life | 2(1-2-3) |
บ่อเกิดแห่งความสุข การพัฒนาคุณค่าของชีวิต การกำหนดเป้าหมายชีวิต การสร้างเสริมสุขภาพและปัญหาสุขภาพในแต่ละช่วงวัย โภชนาการในชีวิตประจำวัน การป้องกันโรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อ การป้องกันอุบัติภัย การสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคม การเห็นคุณค่าของตนเองและผู้อื่น การยอมรับและเคารพความแตกต่างระหว่างบุคคล การแก้ปัญหาร่วมกันอย่างสร้างสรรค์ การเรียนรู้ตลอดชีวิตSources of happiness; developing value of life; setting life goals; health enhancement and health problems in various age groups; daily nutrition; communicable and non-communicable diseases prevention; disaster prevention; strengthening social immunity; self-esteem and appreciation to others; accepting and respecting individual differences; creative problem solving; lifelong learning | ||
GE 03201 | ศิลปะและความงามของชีวิตArt and Beauty of Life | 3(3-0-6) |
ธรรมชาติของมนุษย์ ความซาบซึ้งในความงาม ศิลปะ ดนตรี วัฒนธรรม และธรรมชาติ การจัดการอารมณ์ การเป็นมิตรและการปรับตัวต่อสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลง การพัฒนาบุคลิกภาพ การพัฒนาตนให้มีความพร้อมในการดำรงชีวิตHuman nature; appreciation for beauty, art, music, culture and nature; emotional management; friendliness and adaptation for changing environments; personality development; self-development for living | ||
GE 03202 | ศิลปะการใช้ชีวิตArt of Living | 3(3-0-6) |
การจัดการชีวิต จิตวิทยาทางด้านสังคม จริยธรรม คุณธรรม การยอมรับความแตกต่างระหว่างบุคคล การคิดเชิงบวก การจัดการอารมณ์ การเป็นมิตรและการปรับตัวต่อสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลง การพัฒนาบุคลิกภาพ มารยาททางสังคม การแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์และการเรียนรู้ตลอดชีวิตLife management; social psychology; ethics, morality; accepting individual differences; positive thinking; emotional management; friendliness and adaptability to changing environments; personality development; social etiquette; creative solutions to everyday problems and lifelong learning | ||
GE 04101 | ประกอบการธุรกิจเชิงสร้างสรรค์ Creative Business | 3(3-0-6) |
การแสวงหาโอกาสทางอาชีพและการหารายได้ หลักเศรษฐกิจเพื่อการประกอบการธุรกิจ รูปแบบการประกอบกิจการธุรกิจ การเขียนแผนธุรกิจ การวิเคราะห์และการจัดการข้อมูลทางธุรกิจ เทคโนโลยีและนวัตกรรมสู่การสร้างอาชีพในยุคดิจิทัล การกำหนดทิศทางธุรกิจ การบริหารจัดการ เครื่องมือทางธุรกิจสมัยใหม่ แนวทางในการพัฒนาผลิตภัณฑ์เชิงสร้างสรรค์และการพัฒนาการต่อยอดธุรกิจ บูรณาการการประกอบการธุรกิจเชิงสร้างสรรค์Looking for career opportunities and income; principles of economics for running business; types of business entrepreneurship; writing business plan; analysis and management of business data; technologies and innovations leading to build career in digital age; determination of business direction; management of modern business management tools; development approach of creative product and business integration in creative entrepreneurship | ||
GE 04201 | การวางแผนทางการเงินเพื่อความมั่นคงFinancial Planning for Stability | 3(3-0-6) |
การจัดการทางการเงินตนเองและครอบครัว การสร้างวินัยทางการเงิน เส้นทางสู่ความมั่นคงทางการเงิน มูลค่าเงินตามเวลา การควบคุมรายรับรายจ่ายส่วนบุคคล ภาษีอากรเบื้องต้น การสร้างเครดิตที่ดี การจัดการหนี้ การจัดการความเสี่ยงและการทำประกันภัย การออมและการลงทุนทางการเงินเพื่อสร้างกำไร ธุรกรรมทางการเงินดิจิทัล การบูรณาการการวางแผนทางการเงินเพื่อความมั่นคงManaging personal and family finances; building financial discipline; path to financial security; time value of money; control over personal income and expenses; introduction to taxation; building good financial credit; debt management; risk management and insurance; savings and financial investment to maximize profit; digital financial transactions; integration of financial planning leading to stability | ||
GE 04202 | การทำงานอย่างมีความสุข Working Happily | 3(3-0-6) |
เป้าหมายและหลักในการทำงาน จิตวิทยาในการทำงาน ศิลปะการทำงานเป็นทีม การสื่อสารองค์กร จริยธรรมในการทำงาน สิทธิประโยชน์ตามกฎหมายแรงงาน พฤติกรรมผู้บริโภค การให้บริการอย่างมีคุณภาพ และนำมาประยุกต์ใช้ให้เกิดความสุขในการทำงานGoals and principles for work; psychology for work; art of teamwork; corporate communications; work ethics; benefits under labor law; consumer behavior; giving quality service and applications of theories to work happily | ||
GE 05101 | รู้คิดชีวิตก้าวหน้าThinking for Life Advancement | 3(3-0-6) |
ระบบสมองกับการคิด ลักษณะของการคิด กระบวนการคิด การคิดเชิงวิเคราะห์ กระบวนการคิดทางวิทยาศาสตร์ การคิดแก้ปัญหา การคิดเชิงวิพากษ์ การคิดแบบองค์รวม คณิตศาสตร์และสถิติเบื้องต้นเพื่อการตัดสินใจ การคิดเชิงประยุกต์เกี่ยวกับบัตรเครดิต การผ่อนชำระ แชร์ลูกโซ่ หุ้น บิทคอย การออม การประกัน การวางแผนภาษี การเกษตรทฤษฎีใหม่ และการพัฒนาตนเองรองรับการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี Brain system and thinking; thinking skills; thinking process; analytical thinking; scientific thinking; problem-solving thinking; critical thinking; holistic thinking; mathematics and basic statistics for decision making; applicative thinking for credit cards, installment payment, Ponzi scheme, stock, Bitcoin; savings; insurance; tax planning; new theory agriculture; and self-development for disruptive technology | ||
GE 05102 | ทักษะการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลDigital Literacy Skills | 3(2-2-5) |
เทคโนโลยีดิจิทัล การดำรงชีวิตในสังคมดิจิทัล ความฉลาดทางดิจิทัล สุขภาพในยุคดิจิทัล การค้าดิจิทัล กฎหมายดิจิทัล ความมั่นคงปลอดภัยยุคดิจิทัล การประยุกต์ใช้ดิจิทัลในการพัฒนาการเรียนรู้และการทำงานDigital technology; living in digital society; digital intelligent, health in digital age; digital commerce; digital law; security in digital age; application of digital tools for developing learning and work | ||
GE 05201 | เทคโนโลยีดิจิทัลสำหรับนักธุรกิจมือใหม่Digital Technology for Beginner Businessman | 3(2-2-5) |
รูปแบบธุรกิจและอาชีพในยุคดิจิทัล แพลตฟอร์มในการทำธุรกิจและการตลาดออนไลน์ เครื่องมือและเทคนิคการสร้างภาพประกอบสินค้า เครื่องมือและเทคนิคสำหรับการสร้างวิดีโอสำหรับนำเสนอสินค้า เครื่องมือและเทคนิคการไลฟ์สด เครื่องมือและเทคนิคสำหรับการสร้างโลโก้สินค้า การสร้างเนื้อหาสำหรับการโฆษณาบนแพลตฟอร์มต่างๆ วิธีการโปรโมทสินค้าผ่านแพลตฟอร์มต่างๆ พื้นฐานและเครื่องมือสำหรับการจัดการลูกค้าสัมพันธ์ กฎหมายที่ควรรู้ในการทำธุรกิจดิจิทัล ปฏิบัติการทดลองสร้างธุรกิจออนไลน์Business model and careers path in digital era; platform for online business and marketing; tools and techniques to make product photography; tools and techniques to make video presentation; tools and techniques for live broadcasting; tools and techniques to make product logos; content and ads creating; products promotion through various platforms; basic principles and tools for customer relationship management; laws for digital business; practice creating online business | ||
GE 05202 | รักษ์โลกรักษ์เราSave Earth Save Us | 3(3-0-6) |
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม พลังงานเพื่อชีวิต มลพิษสิ่งแวดล้อม การเปลี่ยนแปลงสภาวะของโลกและภัยธรรมชาติต่อมนุษย์ วิทยาศาสตร์กับการดำรงชีวิต การป้องกันและแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสร้างจิตสำนึกรักษ์โลก เทคโนโลยีสีเขียวและการสร้างสรรค์นวัตกรรมรักษ์โลกMan and environment; energy for life; environmental pollution; global change and natural disasters to human; science and living; preventing and solving environmental problems through scientific process; building awareness to save the earth; green technology and creating green innovations to save the earth | ||
GE 03301 | จังหวะของชีวิตRhythm of Life | 1(0-2-1) |
ประวัติความเป็นมาของกิจกรรมเข้าจังหวะ ขอบข่ายของกิจกรรมเข้าจังหวะ หลักการเต้นรำเบื้องต้น ทักษะการเคลื่อนไหวเบื้องต้นของกิจกรรมเข้าจังหวะ การเต้นกายบริหารประกอบเพลงมาร์ช การเต้นรำพื้นเมืองทั้งของไทยและนานาชาติ การเต้นแอโรบิก ลีลาศ และการเต้นสร้างสรรค์History of rhythmic activities; scope of rhythmic activities; basic dance principles; basic movement skills of rhythmic activities; exercise dance with marching songs; folk dance in Thailand and other countries; aerobic dance; social dance and creative dance | ||
GE 03302 | การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพExercise for Health | 1(0-2-1) |
ความสำคัญของการออกกำลังกาย หลักการและขั้นตอนในการออกกำลังกาย การประเมินตนเองและการเสริมสร้างสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ อาหารสำหรับการออกกำลังกาย การป้องกันและการปฐมพยาบาลอาการบาดเจ็บจากการออกกำลังกายและการเล่นกีฬา กิจกรรมการออกกำลังกายและกีฬา Importance of exercise, principles and steps in exercise; self-assessment and strengthening physical fitness for health; food for exercise; prevention and first aid for exercise and sports injury; exercise and sports activities | ||
GE 03303 | การเต้นสมัยใหม่Modern Dance | 1(0-2-1) |
หลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติการเต้นสมัยใหม่ การเต้นแจ้ส การเต้นฟั้งค์แจ้ส การเต้นฮิปฮอป การเคลื่อนไหวที่สวยงามตามหลักการของสไตล์การเต้น การแสดงออกทางสีหน้าและอารมณ์ การสร้างมนุษยสัมพันธ์ ความคิดสร้างสรรค์ มารยาททางสังคม ความรับผิดชอบ และการสร้างภาวะผู้นำ Principles, theories, and practice of modern dance; Jazz Dance, Funk Jazz, Hip-hop. beautiful movements of dancing style; facial expressions and emotion, building human relations, creative thinking, social etiquette, responsibility, leadership building |
2) หมวดวิชาเฉพาะ
2.1) กลุ่มวิชาแกนวิทยาศาสตร์
SC 01101 | คณิตศาสตร์เบื้องต้นBasic Mathematics | 3(2-2-5) |
ร้อยละและอัตราส่วน ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน เอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม ความน่าจะเป็น สมการและระบบสมการ เวกเตอร์และเมทริกซ์Percentage and ratio; relation and function; exponential and logarithm; probability; equation and system of equations; vector and matrix | ||
SC 01103 | ฟิสิกส์เบื้องต้นBasic Physic | 3(2-2-5) |
การวัดและหน่วยวัด สเกลาร์และเวคเตอร์ การเคลื่อนที่แบบต่างๆ กลศาสตร์ โมเมนตัม แรง งานและพลังงาน ไฟฟ้า อุณหพลศาสตร์ สสารและสมบัติของสสาร ของไหล สารกึ่งตัวนํา คลื่น เสียง เครื่องมือวัดทางไฟฟ้า การประยุกต์ใช้ฟิสิกส์ในชีวิตประจำวันMeasurement and units; scalar; vector; motions; mechanics; momentum; force; work and energy; electric; thermodynamics; matter and properties of matter; fluid; semiconductor; wave; sound; electrical measurements; application of physics in daily life | ||
SC 01010 | ชีววิทยา 1Biology 1 | 3(3-0-6) |
สมบัติของสิ่งมีชีวิต การจัดระบบสิ่งมีชีวิต ระเบียบวิธีวิทยาศาสตร์ สารเคมีในสิ่งมีชีวิต เซลล์และเมแทบอลิซึม โครงสร้างและหน้าที่ของพืชและสัตว์ ระบบภูมิคุ้มกัน พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีดีเอ็นเอ วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต นิเวศวิทยาและพฤติกรรมของสิ่งมีชีวิตProperties of organisms; organization of organisms; scientific method; chemical in organisms; cell and metabolism; structure and function of plant and animal; immune system; genetics and DNA technology; evolution of organisms; biodiversity; ecology and behavior of organisms | ||
SC 01011 | ปฏิบัติการชีววิทยา 1Biology Laboratory 1 | 1(0-3-1) |
กล้องจุลทรรศน์ และปฏิบัติการที่สอดคล้องกับเนื้อหาชีววิทยา 1Microscopy and operating in accordance with the contents of Biology 1 | ||
SC 01013 | ภาษาอังกฤษสำหรับนักวิทยาศาสตร์English for Scientists | 3(3-0-6) |
ทักษะการอ่าน การเขียน การฟัง และพูดภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในงานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การบันทึก สรุปความ ตีความ และขยายความ จากการอ่านบทความและคู่มือการใช้เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทั้งในรูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ การนำเสนอด้วยวาจาและลายลักษณ์อักษร English skills in reading, writing, listening and speaking for communication in science and technology; recording, summarizing, interpreting and expanding science and technology articles and manuals in print and electronic media; oral and written presentations |
2.2) กลุ่มวิชาเฉพาะด้าน
(1) วิชาเอกบังคับ
SC 13101 | เคมีสำหรับวิทยาศาสตร์การแพทย์Chemistry for Medical Science | 3(2-2-5) |
อะตอมและสมบัติของธาตุตามตารางธาตุ พันธะเคมี เคมีนิวเคลียส์และเทคโนโลยี ปริมาณสัมพันธ์ แก๊สและสมบัติของแก๊ส สมดุลของไอออน กรด-เบส อุณหพลศาสตร์เคมี จลนพลศาสตร์เคมี เคมีไฟฟ้า เคมีอินทรีย์ นาโนเทคโนโลยีAtoms and elemental properties in periodic table; chemical bonding; nuclear chemistry and technology; stoichemistry; gas and gas properties; ion equilibrium; acid-base; chemical thermodynamic; chemical kinetics; electrochemistry; organic chemistry; nanotechnology | ||
SC 13102 | เคมีวิเคราะห์สำหรับวิทยาศาสตร์การแพทย์Chemical Analysis for Medical Science | 3(2-2-5) |
หลักการเคมีวิเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ การเตรียมสาร การวิเคราะห์เชิงคุณภาพ การวิเคราะห์เชิงปริมาณ เครื่องมือทางเคมีวิเคราะห์ การประยุกต์ใช้เทคนิคเคมีวิเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ Principles of analytical chemistry in medical science; solution preparation; qualitative analysis; quantitative analysis; instrument in chemical analysis; application of chemical analysis techniques in medical science | ||
SC 13103 | ชีวเคมีสำหรับวิทยาศาสตร์การแพทย์Biochemistry for Medical Science | 3(2-2-5) |
โครงสร้างและหน้าที่ของสารชีวโมเลกุล มัยโอโกลบินและฮีโมโกลบิน หน้าที่ของวิตามินและเกลือแร่ คุณสมบัติและการทำงานของเอนไซม์ การย่อยและการดูดซึม ชีวพลังงานศาสตร์ เมแทบอลิซึมของคาร์โบไฮเดรต โปรตีนและไขมัน การถ่ายทอดทางพันธุกรรมStructures and functions of biomolecules; myoglobin and hemoglobin; function of vitamins and minerals; properties and activities of enzymes; digestion and absorption; bioenergetics; metabolism of carbohydrate, protein and lipid; genetic inheritance | ||
SC 13104 | จุลชีววิทยาMicrobiology | 3(2-2-5) |
สัณฐานวิทยาทั่วไปของจุลินทรีย์ การเพาะเลี้ยง เมแทบอลิซึม พันธุศาสตร์ จุลินทรีย์สาเหตุโรคและการเกิดโรคในมนุษย์ การตอบสนองของภูมิคุ้มกัน การแพร่กระจาย การป้องกัน การทำลายและการยับยั้งจุลินทรีย์ก่อโรค การดื้อยา การวินิจฉัยเชื้อสาเหตุโรคGeneral morphology of microorganism; culture; metabolism; genetic; pathogenic organism and pathogenesis of human; immune response; transmission; prevention; destruction and inhibition of pathogenic microorganism; resistance; diagnosis of causative microorganisms | ||
SC 13201 | ภาษาอังกฤษสำหรับวิทยาศาสตร์การแพทย์English for Medical Science | 3(3-0-6) |
ศัพท์ทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ พื้นฐานไวยากรณ์ การอ่านและเขียนบทความวิชาการ บทสนทนาทางด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ ภาษาอังกฤษสำหรับการสมัครงาน Vocabulary for medical science; basic grammar; reading and writing for academic articles; conversation for medical science; English for job applications | ||
SC 13202 | ปฏิบัติการเครื่องมือวิทยาศาสตร์และการจัดการห้องปฏิบัติการScientific Instrument and Laboratory Management | 1(0-3-1) |
ปฏิบัติการใช้เครื่องมือวิทยาศาสตร์พื้นฐาน การเก็บรักษาตัวอย่าง การบริหารจัดการห้องปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ ระบบการจัดการสารเคมีและของเสีย การจัดการความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ การบริหารความเสี่ยง กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัย Practices for basic scientific instruments; sampling preservation; scientific laboratory administration and management; chemical and waste management system; safety management in laboratory; risk management; safety laws and regulations | ||
SC 13203 | ปฏิบัติการชีววิทยาโมเลกุลทางการแพทย์Laboratory in Medical Molecular Biology | 1(0-3-1) |
การวินิจฉัยโรคติดเชื้อด้วยวิธีมาตรฐาน การประยุกต์ใช้วิธีการทางด้านชีววิทยาระดับโมเลกุลและชีวสารสนเทศศาสตร์สำหรับการพัฒนาวิธีการวินิจฉัยแบบใหม่ในการวินิจฉัยโรคติดเชื้ออุบัติใหม่ เทคนิคทางด้านชีววิทยาระดับโมเลกุลกับการป้องกันการติดต่อและการระบาดโรคติดเชื้อDiagnosis of infectious diseases with standard method; implementation of molecular biology and bioinformatics for development of novel diagnosis in the emerging infectious diseases; molecular biology technique against prevention of transmission and outbreak of infectious disease | ||
SC 13204 | การเพาะเลี้ยงและการใช้จุลินทรีย์ก่อโรคCulture and Utilization of Microbial Pathogen | 3(2-2-5) |
การเพาะเลี้ยงจุลินทรีย์ก่อโรคและอาหารเลี้ยงเชื้อ ความปลอดภัยทางชีวภาพ การจัดการความเสี่ยงทางชีวภาพ อุปกรณ์เพื่อความปลอดภัย การทำลายเชื้อก่อโรค การขนส่งเชื้อ กฎหมายและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องกับเชื้อก่อโรคMicrobial pathogen culture and culture medium; biosafety; biorisk management; safety equipment; decontamination; transportation; law and regulation associated with pathogen | ||
SC 13205 | วัสดุศาสตร์ทางการแพทย์Medical Materials Science | 3(2-2-5) |
โครงสร้าง ชนิดและสมบัติของวัสดุ กลศาสตร์ของวัสดุ การเสื่อมของวัสดุ การประยุกต์ใช้วัสดุทางการแพทย์ Structures, types and properties of materials; mechanics of materials; degradation of materials; application of medical materials | ||
SC 13206 | ไวรัสวิทยาทางการแพทย์Medical Virology | 3(2-2-5) |
คุณสมบัติของเชื้อไวรัสก่อโรคในมนุษย์ กลไกการก่อให้เกิดโรคและการตอบสนองของระบบภูมิคุ้มกัน การเก็บตัวอย่างและการขนส่ง วิธีการตรวจวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการ การแยกและการเพาะเลี้ยงไวรัสสำหรับงานวิจัย ยาต้านไวรัสและอินเตอร์เฟอรอน การป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสCharacteristics of pathogenic viruses in human; viral pathogenesis and immune response; laboratory diagnosis; isolation and propagation for research; antiviral drug and interferons; prevention and control of transmission of viral infection | ||
SC 13207 | กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของมนุษย์Human Anatomy and Physiology | 3(3-0-6) |
มหกายวิภาคศาสตร์และจุลกายวิภาคศาสตร์ของมนุษย์ การเจริญของเอมบริโอ ระบบร่างกายของมนุษย์ กลไกการทำงานของระบบต่าง ๆ ทางสรีรวิทยาในภาวะปกติและภาวะการเกิดโรค Gross anatomy and microscopic anatomy of human; embryogenesis; systems of human body; mechanisms of physiological system in normal and disease conditions | ||
SC 13208 | พยาธิวิทยาPathology | 3(2-2-5) |
ลักษณะการเปลี่ยนแปลงของเซลล์จากการบาดเจ็บและการตายของเซลล์ การปรับสภาพและการซ่อมแซมของเซลล์ พยาธิวิทยาภูมิคุ้มกัน พยาธิสภาพของโรคติดเชื้อ เทคนิคทางจุลพยาธิวิทยาเพื่อการจำแนกความแตกต่างทางพยาธิสภาพCharacteristic change of cell injury and cell death; cellular adaptation and repairing; immunopathology; pathology of infectious diseases; histopathological techniques for distinguishing the pathological distinction | ||
SC 13209 | เนื้อเยื่อวิทยาHistology | 3(2-2-5) |
โครงสร้างและลักษณะของเนื้อเยื่อ พัฒนาการและหน้าที่ของเนื้อเยื่อของอวัยวะในระบบร่างกายต่าง ๆ ของมนุษย์ เทคนิคการศึกษาจุลกายวิภาคของเนื้อเยื่อและการถ่ายภาพStructure and characteristic of tissue; development and function of tissues in human body system; technique in the study of microscopic anatomy and tissue imaging | ||
SC 13301 | กัญชา กัญชง และพืชกระท่อมทางการแพทย์Medical Cannabis, Hemp, and Kratom | 3(2-2-5) |
การเพาะปลูกกัญชา กัญชงและพืชกระท่อม การจัดการผลิต การเก็บเกี่ยว สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ การจัดการวัตถุดิบหลังการเก็บเกี่ยว กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการขออนุญาตปลูกกัญชา กัญชงและพืชกระท่อมCultivation of cannabis, hemp and kratom; production management; harvesting; bioactive compounds, raw material management after harvesting; laws related to asking permission for cannabis, hemp and kratom cultivation | ||
SC 13302 | เภสัชวิทยาและพิษวิทยาPharmacology and Toxicology | 3(3-0-6) |
หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา เภสัชจลนศาสตร์และเภสัชพลศาสตร์ ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของยาจำแนกตามกลุ่มยา ปฏิกิริยาต่อกันของยา ข้อควรระวังและข้อห้ามใช้ของยากลุ่มต่างๆ กฎหมายยา พิษวิทยาเบื้องต้นBasic principle of pharmacology; pharmacokinetics and pharmacodynamics; pharmacological activity of drug classified to drug group; drug interaction; precaution and contraindication of drug; drug laws; basic toxicology | ||
SC 13303 | มาตรฐานสากลระบบบริหารคุณภาพทางวิทยาศาสตร์การแพทย์International Standard for Quality Management System in Medical Sciences | 3(3-0-6) |
ระบบการจัดการด้านคุณภาพ ISO 9001 ระบบการบริหารจัดการคุณภาพอุตสาหกรรมเครื่องมือแพทย์ ISO 13485 การรับรองคุณภาพหองปฏิบัติการทางการแพทย์ตามมาตรฐานสากล ISO 15189 มาตรฐานความปลอดภัยทางหองปฏิบัติการทางการแพทย์ ISO 15190 แนวปฏิบัติการศึกษาทดสอบทางห้องปฏิบัติการที่ดี GLP มาตรฐานการจัดการสิ่งแวดล้อม ISO 14000Quality management system ISO 9001; quality management system for medical devices ISO 13485; medical laboratories-requirements for quality and competence ISO 15189; medical laboratories-requirements for safety ISO 15190; good laboratory practice GLP; environment management standards ISO 14000 | ||
SC 13304 | หลักการตลาดและการบัญชีPrinciples of Marketing and Accounting | 3(3-0-6) |
หลักการตลาด ประเภทสินค้าและบริการ ราคา ช่องทางการจัดจำหน่าย การส่งเสริมการขาย พฤติกรรมผู้บริโภค การวางแผนและพยากรณ์ความต้องการ ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี กระบวนการจัดทำบัญชี จริยธรรมทางการตลาดและการบัญชีPrinciples of marketing; types of product and services; prices; distribution channels; sale promotion; consumer behavior; planning and demand forecasting; basic knowledge for accounting; accounting processes; ethics in marketing and accounting | ||
SC 13305 | การเป็นผู้ประกอบการทางวิทยาศาสตร์การแพทย์Entrepreneurship in Medical Science | 3(3-0-6) |
แนวคิดการเป็นผู้ประกอบการ การวิเคราะห์ปัจจัยแวดล้อมทางธุรกิจทางการแพทย์ การจัดการ การเงิน การผลิต การบริการ การประชาสัมพันธ์ ธุรกิจการแพทย์ในโลกยุคดิจิทัล แผนบริหารความเสี่ยง บทบาทหน้าที่ขององค์กรธุรกิจและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง Concepts of entrepreneur; environmental factor analysis in medical business; management; finance; production; service; public relations; medical business in digital world; risk management plan; role of related business organizations and law | ||
SC 13306 | สถิติสำหรับวิทยาศาสตร์การแพทย์ Statistics for Medical Science | 3(3-0-6) |
ขอบเขตและประโยชน์ของสถิติทางด้านวิทยาศาสตร์ชีวภาพ สถิติเชิงพรรณนา สถิติเชิงอนุมาน ความน่าจะเป็น การแจกแจง การประมาณค่า การทดสอบสมมติฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวนเบื้องต้น การวิเคราะห์ถดถอยและสหสัมพันธ์ การทดสอบไคสแควร์ การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ทางสถิติScope and benefit of statistic for biological science; descriptive statistic; inferential statistic; probability; distribution; estimation; hypothesis testing; basic concept of analysis of variance; regression and correlation analysis; chi-square test; usage of statistical analysis computer software | ||
SC 13307 | ระเบียบวิธีวิจัย จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์และสัตว์ทดลองResearch Methodology, Ethics in Human and Animal Research | 1(1-0-2) |
ความหมายและเป้าหมายการวิจัย ประเภทและกระบวนการวิจัย การกำหนดปัญหาการวิจัย ตัวแปรและสมมุติฐาน การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การเขียนโครงร่างการวิจัย จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์และสัตว์ทดลองResearch definition and goal; type and research process; research problem determination; variables and hypothesis; data collection; data analysis; research proposal writing; ethics in human and animal research |
(2) วิชาเอกเลือก
กลุ่มปฏิบัติการทางการแพทย์
SC 13308 | ปรสิตวิทยาและกีฏวิทยาทางการแพทย์ Medical Parasitology and Medical Entomology | 3(2-2-5) |
สัณฐานวิทยา การก่อโรคและอาการ การตรวจวินิจฉัย การรักษา ระบาดวิทยา การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อปรสิต การจัดหมวดหมู่ เทคนิคต่างๆ สำหรับการวินิจฉัยปรสิต เทคนิคในห้องปฏิบัติการเกี่ยวกับสัตว์ขาปล้องที่มีความสำคัญทางการแพทย์Morphology; pathogenesis and symptoms; diagnosis; disease treatment; epidemiology; prevention and control of parasitic infection; classification; various techniques for parasitic diagnosis; laboratory techniques associated with arthropods of medical importance parasitic diagnosis | ||
SC 13309 | ภูมิคุ้มกันและเทคโนโลยีการผลิตวัคซีนImmunity and Technology in Vaccine Production | 3(2-2-5) |
องค์ประกอบของระบบภูมิคุ้มกันในร่างกายมนุษย์ การตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่อสิ่งแปลกปลอมและเชื้อโรค สภาวะความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน เทคนิคทางด้านภูมิคุ้มกันวิทยา การกระตุ้นให้เกิดภูมิต้านทานด้วยวัคซีน ประเภทและเทคโนโลยีการผลิตวัคซีนComponents of immune system in human body; immune responses against foreign antigen and pathogenic microorganisms; immunological disorder; immunological techniques; immunization by vaccine; types and technology of vaccine production | ||
SC 13310 | การตรวจหาตัวบ่งชี้ทางชีวภาพของมะเร็งExamination of Cancer Biomarkers | 3(2-2-5) |
ชีววิทยาของเนื้องอกธรรมดาและเนื้องอกมะเร็ง การเกิดมะเร็งและปัจจัยที่ก่อให้เกิดมะเร็ง การแพร่กระจายของเซลล์มะเร็ง กระบวนการสร้างเส้นเลือดใหม่ของเนื้องอก กลุ่มยีนที่เกี่ยวข้องกับการเกิดมะเร็ง ภูมิคุ้มกันวิทยาต่อก้อนเนื้องอก ตัวบ่งชี้ทางชีวภาพ รูปแบบการรักษาและการพัฒนาการรักษาแนวใหม่Biology of benign and malignant tumors; carcinogenesis and carcinogenic agents; metastasis stage; angiogenesis; cancer-related genes; tumor immunology; tumor biomarkers; current therapy and development of novel therapy | ||
SC 13311 | นิติวิทยาศาสตร์ Forensic Science | 3(3-0-6) |
ประวัตินิติวิทยาศาสตร์ การประมวลเหตุการณ์ในอดีตและวิธีการทางวิทยาศาสตร์ แนวคิดเชิงวิทยาศาสตร์และเชิงนิติศาสตร์ที่เกี่ยวกับพยานหลักฐานและการพิสูจน์ กระบวนการประมวลเหตุการณ์ การเก็บรวบรวมและการรักษาพยานหลักฐาน การคำนึงถึงหลักวิชาชีพและจริยธรรม Forensic science history; reconstruction of past events and the scientific methods; scientific and legal concepts concerning evidence and proof; reconstruction process; collection and preservation of evidence; professional and ethical consideration | ||
SC 13312 | การเก็บรักษาเซลล์และสายพันธุ์จุลินทรีย์เพื่องานทางการแพทย์Preservation of Cell and Microbial Culture for Medical Usage | 3(2-2-5) |
หลักการและวิธีการเก็บรักษาเซลล์และจุลินทรีย์ การจัดระบบและการรวบรวมข้อมูลของเซลล์และจุลินทรีย์ที่เก็บรักษา เครือข่ายของศูนย์ที่เก็บรวบรวมเซลล์และสายพันธุ์จุลินทรีย์ทางการแพทย์Principles and method of cell and microbial culture preservation; culture collection management and information collection of cell and medical microorganisms; cell and medical microbial collection center | ||
SC 13313 | จุลทรรศนศาสตร์และภาพชีวภาพMicroscopy and Bioimaging | 3(2-2-5) |
เทคนิคเบื้องต้นทางกล้องจุลทรรศน์ชนิดต่างๆ สำหรับศึกษาเซลล์และเนื้อเยื่อ รวมทั้งการถ่ายภาพและเทคนิคการวิเคราะห์ภาพในเชิงคุณภาพและปริมาณ และการประยุกต์ใช้ในงานวิจัยBasic technique in compound microscope for cell and tissue study; photography and technique for qualitative and quantitative analysis; application for research | ||
SC 13314 | การตรวจสอบและการสกัดสารสำคัญจากพืชสมุนไพรIdentification and Extraction of Bioactive Compound from Medicinal Plant | 3(2-2-5) |
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ อนุกรมวิธาน การพิสูจน์เอกลักษณ์พืชสมุนไพรด้วยเทคนิคทางชีวโมเลกุล การเก็บตัวอย่างและการรักษาพืชสมุนไพร เทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อของพืชสมุนไพร การผลิตสารทุติยภูมิของพืชสมุนไพร การเตรียมตัวอย่างสมุนไพร ชนิดของตัวทำละลาย การสกัด การทำให้บริสุทธิ์ การศึกษาโครงสร้างของสารสำคัญ การระบุชนิดสารสำคัญ การทดสอบฤทธิ์ทางชีวภาพBotanical characteristics; taxonomy; molecular technique for identification of plant; sample collection and preservation of medicinal plant; medicinal plant tissue culture technique; production of secondary metabolites in medicinal plant; medicinal plant preparation; solvent; extraction; isolation; structural clarification; identification; evaluation of biological activity | ||
SC 13315 | เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการเครื่องมือแพทย์Information Technology for Medical Equipment Management | 3(2-2-5) |
กระบวนการจัดการเครื่องมือแพทย์ การจัดการข้อมูล การส่งออกและนำข้อมูลเข้าระบบสารสนเทศ โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับช่วยบริหารจัดการเครื่องมือแพทย์ Medical equipment management; data management; data exports and import for information system, computer software for medical equipment management | ||
SC 13316 | ความชราภาพทางชีววิทยาและเวชศาสตร์ฟื้นฟูชะลอวัยBiological Aging and Regeneration | 3(3-0-6) |
ระยะความชรา ทฤษฎีความชรา กระบวนการชราภาพของเซลล์ การชะลอกระบวนการชรา สารต้านความชราจากธรรมชาติ เพปไทด์ต้านการชราAging phase; aging theory; cell aging process; retarding the aging process; natural anti-aging product; anti-aging peptide |
กลุ่มวัสดุและผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์
SC 13317 | อุตสาหกรรมเครื่องมือและผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์Equipment Industry and Medical Product | 3(3-0-6) |
การวิเคราะห์จุดแข็งและจุดอ่อนของผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ อุตสาหกรรมด้านเทคโนโลยีเครื่องมือแพทย์ ความรู้เกี่ยวกับทรัพย์สินทางปัญญา ศึกษาดูงานที่เกี่ยวข้องStrength and weakness analysis of medical product; medical device technology industry; intellectual property knowledge; field study | ||
SC 13318 | การผลิตวัสดุและผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์Production of Materials and Medical Product | 3(2-2-5) |
การเลือกใช้วัสดุ เทคนิคการขึ้นรูปวัสดุ ประเภทและการประยุกต์ใช้ผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ การผลิตผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ในเชิงการค้าMaterial selection; material processing techniques; classification and application in medical product; commercial production of medical product | ||
SC 13319 | การออกแบบวัสดุทางการแพทย์ด้วยคอมพิวเตอร์Computational Medical Materials Design | 3(2-2-5) |
หลักการเขียนแบบตามมาตรฐานสากล การเขียนแบบด้วยคอมพิวเตอร์ โปรแกรมประยุกต์สำหรับงานเขียนแบบแยกชิ้น การเขียนภาพ 3 มิติ และภาพตัดส่วนต่างๆ Principles for drawing standard; computer-aided drawing; application program for assembly drawing, three-dimensional drawing and other section picture | ||
SC 13320 | วัสดุชีวภาพทางการแพทย์Medical Biomaterials | 3(2-2-5) |
ประเภท การสังเคราะห์และขึ้นรูปพอลิเมอร์ชีวภาพ การวิเคราะห์และทดสอบสมบัติเชิงกล สมบัติกายภาพ สมบัติทางความร้อน การย่อยสลาย และความเข้ากันได้ทางชีวภาพ สารเคมีในเครื่องสำอาง สารเคมีและวัสดุสำหรับการประยุกต์ใช้ด้านศัลยกรรมตกแต่งเพื่อความงาม มาตรฐานเกี่ยวกับชีววัสดุความงามTypes, synthesis, and processing of biopolymers; analysis and testing of mechanical properties, physical properties, thermal properties, degradation and biocompatibility, chemicals in cosmetics; chemicals and materials for cosmetic surgery; standard of aesthetic biomaterials | ||
SC 13321 | วัสดุอนินทรีย์ทางการแพทย์Medical Inorganic Materials | 3(3-0-6) |
กระบวนการผลิตโลหะและเซรามิกส์ กระบวนการปรับปรุงพื้นผิว ความเข้ากันได้ทางชีวภาพ การสึกกร่อนของวัสดุ การประยุกต์ใช้ในทางการแพทย์Metal and ceramic processing; surface treatment; biocompatibility; erosion corrosion of materials; medical applications | ||
SC 13322 | พฤกษเคมีและผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพPhytochemical and Functional Product | 3(3-0-6) |
สารประกอบทางเคมีในพืช การใช้ประโยชน์ อาหารเสริมเพื่อสุขภาพ ผลิตภัณฑ์เสริมใยอาหาร ผลิตภัณฑ์จากจุลินทรีย์ กระบวนการพัฒนาอาหารเพื่อสุขภาพChemical compound in plant; utilization; dietary supplement; fiber product; microbial product; development of functional food process | ||
SC 13323 | เทคนิคการวิเคราะห์เชิงเครื่องมือTechniques of Instrumental Analysis | 3(2-2-5) |
หลักการวิเคราะห์โดยใช้เครื่องมือทางสเปกโทรสโกปี อัลตราไวโอเลตและวิสิเบิลสเปกโทรสโกปี อินฟราเรดและรามานสเปกโทรสโกปี ฟลูออเรสเซนซ์และเคมีลูมิเนสเซนต์ของโมเลกุล นิวเคลียร์แมกเนติก เรโซแนนซ์สเปกโทรสโกปี แมสสเปกโทรเมตรี อะตอมมิกแอบซอร์ปชันสเปกโทรสโกปี เทคนิคทางโครมาโท กราฟี เอกซเรย์ดิฟแฟรกชัน เอกซเรย์ฟลูออเรสเซนต์ กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน Principles of spectroscopic analysis; ultraviolet and visible spectroscopy; infrared and raman spectroscopy; fluorescence and chemiluminescence of molecules; nuclear magnetic resonance spectroscopy; mass spectrometry; atomic absorption spectroscopy; chromatography techniques; x-ray diffraction; x-ray fluorescence; electron microscopy | ||
SC 13324 | นาโนเทคโนโลยีทางการแพทย์Medical Nanotechnology | 3(3-0-6) |
โครงสร้าง การสังเคราะห์และกระบวนการขึ้นรูปวัสดุนาโน นาโนเทคโนโลยีในผลิตภัณฑ์สุขภาพStructures, synthesis and processing of nanomaterials; nanotechnology in health products | ||
SC 13325 | เทคโนโลยีระบบนำส่งยาDrug Delivery Systems Technology | 3(3-0-6) |
กลไกการออกฤทธิ์ของยา ประเภทของระบบนำส่งยาในร่างกายมนุษย์ การปลดปล่อยยาจากระบบนำส่ง การนำส่งยาไปยังเป้าหมาย เทคโนโลยีและอุปกรณ์ในการนำส่งยาMechanism of drug action; classes of drug delivery systems to human body; release of drug from delivery systems; drug delivery to target; technology and devices in drug delivery | ||
SC 13326 | การออกแบบโมเลกุลยาDrug Molecular Design | 3(3-0-6) |
การค้นพบและการพัฒนายา เทคนิคในการออกแบบยา การจำลองการจับกัน การคัดเลือกเสมือนจริง การทำนายสมบัติทางเภสัชจลนศาสตร์ การจำลองพลศาสตร์เชิงโมเลกุล เทคนิคทางชีวฟิสิกส์ในการออกแบบยาDrug discovery and development; techniques in drug design; molecular docking; virtual screening; prediction of pharmacokinetics properties; molecular dynamic simulations; biophysical techniques in drug design | ||
SC 13327 | สิ่งแวดล้อมและสุขภาพEnvironment and Health | 3(3-0-6) |
ความรู้ทางเคมีสิ่งแวดล้อม มลภาวะทางอากาศ ทางน้ำ และทางดิน สาเหตุ การป้องกันและการบำบัดมลภาวะ ผลกระทบต่อสุขภาพKnowledge of environmental chemistry; air, water and soil pollutions; causes, prevention and treatment of pollution; health effects | ||
SC 13328 | การจัดการขยะติดเชื้อInfectious Waste Management | 3(3-0-6) |
หลักการทั่วไปของขยะติดเชื้อ การจัดการขยะติดเชื้อ ผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม การป้องกันอันตรายส่วนบุคคล General principles of infectious waste; infectious waste management; environmental and health effects; personal protection |
2.3) กลุ่มวิชาชีพ
แผนการเรียนฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
SC 13401 | สัมมนาทางวิทยาศาสตร์การแพทย์Seminar in Medical Science | 1(0-2-1) |
อภิปราย วิเคราะห์ และนำเสนอบทความวิจัยที่น่าสนใจทางวิทยาศาสตร์การแพทย์จากวารสารระดับนานาชาติDiscussion, analysis and presentation of research publications relevant to medical science from international journal | ||
SC 13402 | โครงการวิจัยทางวิทยาศาสตร์การแพทย์Research Project in Medical Science | 3(0-6-3) |
การทดลอง การวิเคราะห์ผล การรายงานความก้าวหน้าการวิจัย การเขียนรายงานการวิจัย การเสนอผลงานวิจัยExperiment; result analysis; research progress report; writing of research report; research presentation | ||
SC 13403 | การฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางวิทยาศาสตร์การแพทย์Internship in Medical Science | 3(300) |
การฝึกปฏิบัติงานในหน่วยงานหรือสถาบันทางด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ การนำเสนอผลงาน การเขียนรายงานการฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางวิทยาศาสตร์การแพทย์Practices in agency or institute in medical science; presentation; reporting of internship in medical science |
แผนการเรียนสหกิจศึกษา
SC 13404 | เตรียมสหกิจศึกษาทางวิทยาศาสตร์การแพทย์Co-operative Education Preparation in Medical Science | 1(0-2-1) |
การเตรียมตัวก่อนสหกิจศึกษา หลักการและขั้นตอนกระบวนการของสหกิจศึกษา ระเบียบข้อบังคับที่เกี่ยวข้องกับสหกิจศึกษา ทักษะการทำงานที่จำเป็นสำหรับสถานประกอบการ ระบบบริหารงานคุณภาพ เทคนิคการนำเสนอผลงานและทักษะการเขียนรายงาน การพัฒนาบุคลิกภาพเพื่อสังคมการทำงานPreparation before cooperative education; principles and process of cooperative education; regulations related to cooperative education; necessary skill for the workplace; quality management system; presentation technique and report writing skills; personality development for social work | ||
SC 13405 | สหกิจศึกษาทางวิทยาศาสตร์การแพทย์Co-operative Education in Medical Science | 6(640) |
รายวิชาที่ต้องลงทะเบียนก่อน: SC 13404 เตรียมสหกิจศึกษาทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ปฏิบัติงานเต็มเวลาในหน่วยงานภาครัฐหรือเอกชนทางด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ การทำงานวิจัยที่ได้รับมอบหมาย การเขียนรายงานการวิจัย การนำเสนอผลงานวิจัย และกำกับ ควบคุม ประเมินผลโดยพนักงานที่ปรึกษาและอาจารย์นิเทศก์Prerequisite: SC 13404 Co-operative Education Preparation in Medical ScienceFull-time working in government or private agency in medical science; research assignment; report writing; research presentation; evaluation by mentor and supervisor |
3.1.6 ความคาดหวังของผลลัพธ์การเรียนรู้เมื่อสิ้นปีการศึกษา
ชั้นปีที่ | รายละเอียด |
---|---|
1 | มีทักษะปฏิบัติการเบื้องต้นทางด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ การใช้เครื่องมือวิทยาศาสตร์ และการวิเคราะห์ผลปฏิบัติการเบื้องต้นได้ |
2 | – สามารถตรวจหาเชื้อก่อโรคและเซลล์ด้วยเทคนิคทางชีวโมเลกุลได้- สามารถเตรียมตัวอย่างเนื้อเยื่อ และย้อมสีตัวอย่างชิ้นเนื้อด้วยวิธีการต่าง ๆ ได้- สามารถเพาะเลี้ยงและใช้จุลินทรีย์ก่อโรคได้ |
3 | – มีความคิดสร้างสรรค์ในการวิจัยและพัฒนาการทำงาน พัฒนาวิธีทดสอบ และพัฒนาผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์- มีความสามารถในการเป็นผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์การแพทย์ |
4 | มีทักษะการปฏิบัติงานด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ และสามารถทำงานร่วมกับสหวิชาชีพอื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ |
3.2 ชื่อ สกุล เลขประจำตัวบัตรประชาชน ตำแหน่งและคุณวุฒิของอาจารย์
3.2.1 อาจารย์ประจำหลักสูตร
ลำดับที่ | ชื่อ-สกุล เลขประจำตัวประชาชน | ตำแหน่งทางวิชาการ | คุณวุฒิ(สาขาวิชา) | สถานศึกษาและปีพ.ศ.ที่สำเร็จการศึกษา |
---|---|---|---|---|
1 | นางสาวรัชนู เมยดง3-4710-XXXXX-XX-X | อาจารย์ | ปร.ด. (จุลชีววิทยา)วท.ม. (จุลชีววิทยา)วท.บ. (จุลชีววิทยา) | มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2560มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2553มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2549 |
2 | นางสาวรัตน์สุภา ธรรมาภรณ์1-1020-XXXXX-XX-X | อาจารย์ | ปร.ด. (เคมี) วท.ม. (เคมี) วท.บ. (เคมี) | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2559มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2552มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2549 |
3 | นางสาวศิริพร ทิพย์สิงห์3-6205-XXXXX-XX-X | ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุลชีววิทยา (2102) | กศ.ม. (วิทยาศาสตร์ศึกษา-ชีววิทยา)ค.บ. (ชีววิทยา) | มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร, 2545สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา, 2539 |
4 | นายจรัญ ประจันบาล3-2504-XXXXX-XX-X | ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุลชีววิทยา (2102) | วท.ม. (จุลชีววิทยา) วท.บ. (ชีววิทยาประยุกต์) | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2551สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา, 2546 |
5 | นายสถิตย์ พันวิไล3-3302-XXXXX-XX-X | อาจารย์ | วท.ม. (จุลชีววิทยา)วท.บ. (ชีววิทยาประยุกต์) | มหาวิทยาลัยมหิดล, 2557มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา, 2547 |
หมายเหตุ ประวัติ ผลงานทางวิชาการ และภาระงานสอนของอาจารย์ ดูที่ภาคผนวก ง
3.2.2 อาจารย์ประจำ
ลำดับที่ | ชื่อ-สกุล เลขประจำตัวประชาชน | ตำแหน่งทางวิชาการ | คุณวุฒิ(สาขาวิชา) | สถานศึกษาและปีพ.ศ.ที่สำเร็จการศึกษา |
---|---|---|---|---|
1 | นางสาวรัชนู เมยดง3-4710-XXXXX-XX-X | อาจารย์ | ปร.ด. (จุลชีววิทยา)วท.ม. (จุลชีววิทยา)วท.บ. (จุลชีววิทยา) | มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2560มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2553มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2549 |
2 | นางสาวรัตน์สุภา ธรรมาภรณ์1-1020-XXXXX-XX-X | อาจารย์ | ปร.ด. (เคมี) วท.ม. (เคมี) วท.บ. (เคมี) | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2559มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2552มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2549 |
3 | นางสาวศิริพร ทิพย์สิงห์3-6205-XXXXX-XX-X | ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุลชีววิทยา (2102) | กศ.ม. (วิทยาศาสตร์ศึกษา-ชีววิทยา)ค.บ. (ชีววิทยา) | มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร, 2545สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา, 2539 |
4 | นายจรัญ ประจันบาล3-2504-XXXXX-XX-X | ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุลชีววิทยา (2102) | วท.ม. (จุลชีววิทยา) วท.บ. (ชีววิทยาประยุกต์) | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2551สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา, 2546 |
5 | นายสถิตย์ พันวิไล3-3302-XXXXX-XX-X | อาจารย์ | วท.ม. (จุลชีววิทยา)วท.บ. (ชีววิทยาประยุกต์) | มหาวิทยาลัยมหิดล, 2557มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา, 2547 |
6 | นางสาวอรุณ ชาญชัยเชาว์วิวัฒน์3-1024-XXXXX-XX-X | ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุลชีววิทยา (2102) | ปร.ด. (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการศึกษา)วท.ม. (จุลชีววิทยาอุตสาหกรรม)วท.บ. (จุลชีววิทยา) | มหาวิทยาลัยมหิดล, 2551 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2536จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2532 |
7 | นางสาวรุ่งลักษณ์ แก้ววิเชียร1-6401-XXXXX-XX-X | ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุลชีววิทยา (2102) | ปร.ด. (จุลชีววิทยา) วท.ม. (จุลชีววิทยา) วท.บ. (ชีววิทยา) | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2552มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2550 |
8 | นางสาวเบญจรัตน์ จันสน1-6599-XXXXX-XX-X | อาจารย์ | วท.ม. (สรีรวิทยา)วท.บ. (วิทยาศาสตร์การแพทย์) | มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2562มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2560 |
9 | นางสาวกรกฎ เพ็ชร์หัสณะโยธิน3-1022-XXXX-XX-X | ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิศวกรรมเคมี(1101) | ปร.ด. (การจัดการเทคโนโลยี)วท.ม. (เคมีอุตสาหกรรม)วท.บ. (เคมี) | มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา, 2555 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, 2549มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี, 2545 |
10 | นางสาวญาณิศา ตันติปาลกุล3-1006-XXXX-XX-X | ผู้ช่วยศาสตราจารย์เคมีสิ่งแวดล้อม(0136) | ปร.ด. (การจัดการนวัตกรรมและเทคโนโลยี)วท.ม. (เคมีอุตสาหกรรม)วท.บ. (เคมี) | มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา, 2561 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, 2550มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี, 2547 |
11 | นายณัฐวุฒิ รัตนาธรรมวัฒน์3-7599-XXXX-XX-X | ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิศวกรรมวัสดุ(1120) | วศ.ม. (เทคโนโลยีวัสดุ)ประกาศนียบัตรบัณฑิต (เทคโนโลยีวัสดุ)วศ.บ. (วิศวกรรมพอลิเมอร์) | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, 2548มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, 2545 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี สุรนารี, 2544 |
12 | นายธนพงษ์ เชื้อฉุน3-3107-XXXX-XX-X | อาจารย์ | วศ.ม. (เทคโนโลยีวัสดุ)วท.บ. (เคมี) | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, 2556มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 2550 |
13 | นางสาวเพียงฤทัย บุญประสิทธิ์1-1014-XXXX-XX-X | อาจารย์ | วศ.ม. (เทคโนโลยีวัสดุ)วท.บ. (เคมีอุตสาหกรรม) | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, 2555สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง, 2552 |
หมายเหตุ ประวัติ ผลงานทางวิชาการ และภาระงานสอนของอาจารย์ ดูที่ภาคผนวก จ
3.2.3 อาจารย์พิเศษ
ลำดับที่ | ชื่อ-สกุล เลขประจำตัวประชาชน | ตำแหน่งทางวิชาการ | คุณวุฒิ(สาขาวิชา) | สถานศึกษาและปีพ.ศ.ที่สำเร็จการศึกษา |
---|---|---|---|---|
1 | นางสาวจุฑามาศ วงศ์ภูมิ1-1014-XXXXX-XX-X | นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ ระดับ 7 | วท.ม. (วิทยาศาสตร์การแพทย์)วท.บ. (ชีววิทยาประยุกต์) | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2562สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา, 2549 |
2 | นางสาวพราว ศุภจริยาวัตร1-4499-XXXXX-XX-X | นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ ชำนาญการพิเศษ | วท.ม. (จุลชีววิทยาทางสัตวแพทย์)วท.บ. (ชีววิทยา) | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2552มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2550 |
3 | นางสาวสกุลรัตน์ สุนทรฉัตราวัฒน์3-3309-XXXXX-XX-X | นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ ปฏิบัติการ | วท.บ. (ชีววิทยาประยุกต์) | สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา, 2545 |
หมายเหตุ ประวัติ ผลงานทางวิชาการ และของอาจารย์พิเศษ ดูที่ภาคผนวก ฉ
4. องค์ประกอบเกี่ยวกับประสบการณ์ภาคสนาม
จากผู้ใช้บัณฑิตที่ต้องการให้บัณฑิตมีประสบการณ์ภาคสนามก่อนเข้าสู่อาชีพ ดังนั้นหลักสูตรจึงได้กำหนดให้มีกลุ่มวิชาชีพ โดยให้นักศึกษาเลือกแผนการเรียนภาคสนามจาก 2 แผนการเรียน ดังนี้
4.1 แผนการเรียนการฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
4.1.1 คำอธิบายโดยย่อ
การฝึกปฏิบัติงานในหน่วยงานหรือสถาบันทางด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ การนำเสนอผลงาน การเขียนรายงานการฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
4.1.2 มาตรฐานผลการเรียนรู้
1) มีความซื่อสัตย์สุจริต
2) มีระเบียบวินัย
3) มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
4) เคารพสิทธิและความคิดเห็นของผู้อื่น
5) มีจิตสาธารณะ
6) มีความรู้ในหลักการและทฤษฎีทางด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์
7) มีความรอบรู้ในศาสตร์ต่าง ๆ ที่สามารถนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้
8) นำความรู้ทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ไปประยุกต์กับสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
9) มีความใฝ่รู้สามารถวิเคราะห์และสังเคราะห์ความรู้จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่มีความหลากหลายได้อย่างถูกต้อง เพื่อนำไปสู่การสร้างสรรค์นวัตกรรม
10) มีภาวะผู้นำ สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นในฐานะผู้นำและสมาชิกที่ดี
11) มีความรับผิดชอบต่อสังคมและองค์กร
12) สามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมขององค์กร
13) มีทักษะการใช้ภาษาเพื่อสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งเลือกใช้รูปแบบการสื่อสารได้อย่างเหมาะสม
4.1.3 ช่วงเวลา
ภาคการศึกษาที่ 2 ของปีการศึกษาที่ 4
4.1.4 การจัดเวลาและตารางสอน
จัดการฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ 4 วันต่อสัปดาห์ จำนวนไม่น้อยกว่า 300 ชั่วโมง ในภาคการศึกษาที่ 2 ของปีการศึกษาที่ 4
4.2 แผนการเรียนสหกิจศึกษา
4.2.1 คำอธิบายโดยย่อ
ปฏิบัติงานเต็มเวลาในหน่วยงานภาครัฐหรือเอกชนทางด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ การทำงานวิจัยที่ได้รับมอบหมาย การเขียนรายงานการวิจัย การนำเสนอผลงานวิจัย และกำกับ ควบคุม ประเมินผลโดยพนักงานที่ปรึกษาและอาจารย์นิเทศก์
4.2.2 มาตรฐานผลการเรียนรู้
1) มีความซื่อสัตย์สุจริต
2) มีระเบียบวินัย
3) มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
4) เคารพสิทธิและความคิดเห็นของผู้อื่น
5) มีจิตสาธารณะ
6) มีความรู้ในหลักการและทฤษฎีทางด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์
7) มีความรู้พื้นฐานทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ และสามารถนำมาบูรณาการในวิชาทางด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ได้
8) มีความรอบรู้ในศาสตร์ต่าง ๆ ที่สามารถนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้
9) สามารถคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ และมีเหตุมีผลตามหลักการทางวิทยาศาสตร์
10) นำความรู้ทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ไปประยุกต์กับสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
11) มีความใฝ่รู้สามารถวิเคราะห์ และสังเคราะห์ความรู้จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่มีความหลากหลายได้อย่างถูกต้อง เพื่อนำไปสู่การสร้างสรรค์นวัตกรรม
12) มีภาวะผู้นำ สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นในฐานะผู้นำและสมาชิกที่ดี
13) มีความรับผิดชอบต่อสังคมและองค์กร
14) สามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมขององค์กร
15) สามารถประยุกต์ความรู้ทางคณิตศาสตร์และสถิติเพื่อการวิเคราะห์ ประมวลผล การแก้ปัญหา และการนำเสนอข้อมูลได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
16) มีทักษะการใช้ภาษาเพื่อสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งเลือกใช้รูปแบบการสื่อสารได้อย่างเหมาะสม
4.2.3 ช่วงเวลา
ภาคการศึกษาที่ 2 ของปีการศึกษาที่ 4
4.2.4 การจัดเวลาและตารางสอน
ปฏิบัติงานเต็มเวลาในหน่วยงานภาครัฐหรือเอกชนทางด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ จำนวนไม่น้อยกว่า 540 ชั่วโมง ในภาคการศึกษาที่ 2 ของปีการศึกษาที่ 4
5. ข้อกำหนดเกี่ยวกับการทำโครงงานหรืองานวิจัย
ทำการวิจัยทางวิทยาศาสตร์การแพทย์โดยศึกษาค้นคว้า ทดลอง รวบรวม เสนอผลงาน และเขียนรายงานผลการวิจัย ตลอดจนการนำเสนอผลงานการวิจัยทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ โดยได้แบ่งเนื้อหาออกเป็น 2 รายวิชา ดังนี้
5.1 รายวิชาระเบียบวิธีวิจัย กฎหมาย จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์และสัตว์ทดลอง
5.1.1 คำอธิบายโดยย่อ
ความหมายและเป้าหมายการวิจัย ประเภทและกระบวนการวิจัย การกำหนดปัญหาการวิจัย ตัวแปรและสมมุติฐาน การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การเขียนโครงร่างการวิจัย กฎหมาย จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์และสัตว์ทดลอง
5.1.2 มาตรฐานผลการเรียนรู้
- มีความซื่อสัตย์สุจริต
- มีความรู้ในหลักการ ทฤษฎี จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ รวมทั้งกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับงานด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์
- สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์เพื่อให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในยุคโลกไร้พรมแดน
- มีความใฝ่รู้สามารถวิเคราะห์และสังเคราะห์ความรู้จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่มีความหลากหลายได้อย่างถูกต้อง เพื่อนำไปสู่การสร้างสรรค์นวัตกรรมที่ใช้พัฒนาการทำงาน พัฒนาวิธีทดสอบ และพัฒนาผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์
- มีทักษะในการสื่อสารภาษาไทยได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งเลือกใช้รูปแบบการสื่อสารได้อย่างเหมาะสม
- มีทักษะความรู้ภาษาอังกฤษหรือภาษาต่างประเทศอื่น ๆ เพื่อการค้นคว้าได้ดี
- สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้น เก็บรวบรวมข้อมูลและนำเสนอข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพและเหมาะกับสถานการณ์
5.1.3 ช่วงเวลา
ภาคการศึกษาที่ 2 ของปีการศึกษาที่ 3
5.1.4 จำนวนหน่วยกิต
จำนวน 1 หน่วยกิต
5.1.5 การเตรียมการ
- จัดเตรียมหัวข้อโครงการโดยมีอาจารย์ที่ปรึกษาในแต่ละหัวข้อโครงการ
- อาจารย์ที่ปรึกษาให้คำปรึกษาในการเลือกหัวข้อและกระบวนการศึกษาค้นคว้าและประเมินผล
- กำหนดชั่วโมงการให้คำปรึกษาให้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับโครงงานทางเว็บไซต์และปรับปรุงให้ทันสมัยเสมอ
- อาจารย์ที่ปรึกษาจัดทำบันทึกการให้คำปรึกษา
- จัดกิจกรรมเพื่อให้นักศึกษานำเสนอข้อเสนอโครงการวิจัยต่ออาจารย์ประจำสาขาวิชา
- นำแบบเสนอโครงการวิจัยเสนอต่อสถาบันวิจัยและพัฒนา เพื่อรับงบประมาณสนับสนุนจากสถาบันการศึกษา
5.1.6 กระบวนการประเมินผล
ประเมินผลจากความก้าวหน้าในการทำข้อเสนอโครงงานวิจัย และประเมินผลจากการนำเสนอโดยอาจารย์ประจำสาขาวิชา
5.2 รายวิชาโครงการวิจัยทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
5.2.1 คำอธิบายโดยย่อ
การทดลอง การวิเคราะห์ผล การรายงานความก้าวหน้าการวิจัย การเขียนรายงานการวิจัย การเสนอผลงานวิจัย
5.2.2 มาตรฐานผลการเรียนรู้
- มีความซื่อสัตย์สุจริต
- มีระเบียบวินัย
- มีความรู้ในหลักการและทฤษฎีทางด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์
- มีความรู้พื้นฐานทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ และสามารถนำความรู้มาบูรณาการในวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์ได้
- สามารถคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ และมีเหตุมีผลตามหลักการทางวิทยาศาสตร์
- มีความใฝ่รู้สามารถวิเคราะห์และสังเคราะห์ความรู้จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่มีความหลากหลายได้อย่างถูกต้อง เพื่อนำไปสู่การสร้างสรรค์นวัตกรรมที่ใช้พัฒนาการทำงาน พัฒนาวิธีทดสอบ และพัฒนาผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์
- สามารถประยุกต์ความรู้ทางคณิตศาสตร์และสถิติเพื่อการวิเคราะห์ ประมวลผล การแก้ปัญหาและการนำเสนอข้อมูลได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
- มีทักษะในการสื่อสารภาษาไทยได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งเลือกใช้รูปแบบการสื่อสารได้อย่างเหมาะสม
- มีทักษะและความรู้ภาษาอังกฤษหรือภาษาต่างประเทศอื่น เพื่อการค้นคว้าได้ดี
5.2.3 ช่วงเวลา
ภาคการศึกษาที่ 1 ของปีการศึกษาที่ 4
5.2.4 จำนวนหน่วยกิต
จำนวน 3 หน่วยกิต
5.2.5 การเตรียมการ
- อาจารย์ที่ปรึกษาให้คำปรึกษาในกระบวนการศึกษาค้นคว้าและประเมินผล
- กำหนดชั่วโมงการให้คำปรึกษาให้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับโครงงานทางเว็บไซต์และปรับปรุงให้ทันสมัยเสมอ
- อาจารย์ที่ปรึกษาจัดทำบันทึกการให้คำปรึกษา
- สาขาวิชาจัดสรรงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจัดสิ่งอำนวยความสะดวกและเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
- จัดให้นักศึกษานำเสนอรายงานความก้าวหน้าผลการศึกษาปากเปล่าต่ออาจารย์ที่ปรึกษาประจำวิชา
- จัดกิจกรรมเพื่อให้นักศึกษานำเสนอผลงานต่ออาจารย์ประจำสาขาวิชา
- เผยแพร่ผลงานโครงการวิจัย
5.2.6 กระบวนการประเมินผล
ประเมินผลจากความก้าวหน้าในการทำโครงงานวิจัย และประเมินผลจากรายงานที่ได้กำหนดรูปแบบการนำเสนอผลงานโดยอาจารย์ในสาขาวิชา
หมวดที่ 4 ผลการเรียนรู้ กลยุทธ์การสอนและการประเมินผล
1. การพัฒนาคุณลักษณะพิเศษของนักศึกษา
คุณลักษณะพิเศษ/คุณสมบัติที่พึงประสงค์ | กลยุทธ์หรือกิจกรรม |
---|---|
มีทักษะในการปฏิบัติงานทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ | จัดโครงการพัฒนาการเรียนรู้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในแต่ละชั้นปีของนักศึกษา เพื่อส่งเสริมให้เกิดการค้นคว้าและแก้ปัญหาโดยใช้หลักการทางวิทยาศาสตร์ รวมทั้งส่งเสริมให้เรียนรู้ด้วยการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองร่วมกับหน่วยงานภายนอกจัดโครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ |
มีความคิดเชิงพัฒนา | สอดแทรกหลักการคิดวิเคราะห์ วิธีการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์ในทุกกิจกรรมของโครงการที่นำไปสู่การความคิดเชิงพัฒนาและการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์มอบหมายให้ทำโครงงานกลุ่มที่เกี่ยวข้องกับสถานการณ์จริงในปัจจุบัน เพื่อฝึกทักษะการคิดแก้ปัญหาให้นักศึกษาเข้าร่วมกับอาจารย์ในการฝึกฝนทักษะการคิดเชิงพัฒนาใน 3 โครงการของหลักสูตรOne-Program One-InnovationOne-Program One-SchoolOne-Program One-Local Development Project |
มีความสามารถในการเป็นผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์การแพทย์ | จัดโครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการในทุกชั้นปี และจัดกิจกรรมศึกษาดูงานสถานประกอบการที่เกี่ยวข้องกับงานด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ |
2. การพัฒนาผลการเรียนรู้ในแต่ละด้าน
2.1 การพัฒนาผลการเรียนรู้ในแต่ละด้านหมวดวิชาศึกษาทั่วไป
1) ด้านคุณธรรม จริยธรรม
ผลการเรียนรู้ | กลยุทธ์การสอน | วิธีการวัดและประเมินผล |
---|---|---|
1. มีคุณธรรมจริยธรรมในการดำเนินชีวิต2. เคารพกฎเกณฑ์ทางสังคมและมีค่านิยมที่ดีงาม | 1. การบรรยาย 2. การสาธิต 3. การอภิปราย 4. การสอนที่สอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม โดยใช้เอกสารและสื่อต่างๆ5. การสอนโดยใช้การเรียนรู้จากกรณีศึกษา บทบาทสมมุติ สถานการณ์จำลอง เกม6. การเรียนรู้ในกิจกรรมที่ให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติในสถานการณ์จริง7. การกำหนดพฤติกรรม ข้อปฏิบัติ เพื่อให้ผู้เรียนปฏิบัติตาม8. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและมอบหมายงาน | 1. ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรม ปฏิสัมพันธ์ในชั้นเรียน การอภิปรายในชั้นเรียน หรือการเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ2. ประเมินจากการปฏิบัติงานหรือผลงาน3. ประเมินจากการวิเคราะห์ ใบงาน รายงานผลงาน หรือผลผลิตของผู้เรียน |
2) ด้านความรู้
ผลการเรียนรู้ | กลยุทธ์การสอน | วิธีการวัดและประเมินผล |
---|---|---|
1. มีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาวิชาที่ศึกษา2. มีความรู้ความเข้าใจประเพณี วัฒนธรรมไทย และสากล เพื่อนำไปใช้ในการดำเนินชีวิต3. มีความรู้ความเข้าใจถึงผลกระทบจากความประพฤติที่ไม่เป็นไปตามกฎเกณฑ์ของสังคม | 1. การบรรยาย 2. การสาธิต 3. การอภิปราย4. การฝึกปฏิบัติการ 5. การทำโครงการโครงงาน6. การสอนทักษะการสืบค้น ทักษะการเรียนรู้ต่างๆ เพื่อนำไปใช้ในการเรียนรู้ผ่านการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง7. การสอนโดยใช้การเรียนรู้จากกรณีศึกษา สถานการณ์จำลอง เกม หรือสถานการณ์จริง8. การศึกษาดูงานหรือเชิญวิทยากรผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงมาเป็นวิทยากรเฉพาะเรื่อง | 1. การทดสอบย่อย แบบฝึกหัด2. การสอบปลายภาค และ/หรือการสอบกลางภาค 3. ประเมินจากใบงาน รายงานผลงาน หรือผลผลิตของผู้เรียน4. ประเมินจากการนำเสนอรายงาน หรือผลงานของผู้เรียน5. ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรม ปฏิสัมพันธ์ในชั้นเรียน การอภิปรายในชั้นเรียน หรือการมีส่วนร่วมในการตอบคำถาม |
3) ด้านทักษะทางปัญญา
ผลการเรียนรู้ | กลยุทธ์การสอน | วิธีการวัดและประเมินผล |
---|---|---|
1. มีทักษะการแสวงหาความรู้ ติดตามการเปลี่ยนแปลงทางสังคม2. มีทักษะการคิดอย่างเป็นระบบ วิเคราะห์ สังเคราะห์ วิพากษ์ สร้างสรรค์ และมีวิจารณญาณ3. มีทักษะการแก้ปัญหาอย่างถูกต้องตามหลักการ | 1. การบรรยาย 2. การสาธิต 3. การอภิปราย 4. การฝึกปฏิบัติการ 5. การทำโครงการ โครงงาน6. การวิเคราะห์สังเคราะห์ข้อมูลจากการสืบค้น การบรรยาย เอกสารและสื่อต่างๆ เพื่อนำไปสู่การอภิปรายการนำเสนอในชั้นเรียน7. การศึกษาดูงาน เรียนรู้นอกสถานที่ เรียนรู้จากประสบการณ์ เรียนรู้จากชุมชน เรียนรู้จากสภาพจริง 8. การสอนโดยใช้การเรียนรู้จากกรณีศึกษา สถานการณ์จำลอง เกม เพื่อนำไปสู่การสังเคราะห์ วิเคราะห์ และวิพากษ์9. การสอนทักษะการสืบค้นทักษะการเรียนรู้ต่างๆ เพื่อนำไปใช้ในการเรียนรู้ผ่านการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง | 1. การทดสอบย่อย แบบฝึกหัด2. การสอบปลายภาค และ/หรือการสอบกลางภาค3. ประเมินจากกิจกรรม ใบงาน รายงาน ผลงาน ผลผลิตหรือ การนำเสนอของผู้เรียน4. ประเมินจากการอภิปรายหรือการแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน การมีส่วนร่วมในการตอบคำถาม |
4) ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
ผลการเรียนรู้ | กลยุทธ์การสอน | วิธีการวัดและประเมินผล |
---|---|---|
1. มีความรับผิดชอบต่อตนเอง และส่วนรวม2. มีความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่นที่มีความแตกต่างกัน3. มีทักษะการเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดีในการทำงานกลุ่ม | 1. การสอนโดยเน้นการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียน ผู้เรียนกับผู้สอน ผู้เรียนกับบุคคลอื่นที่เกี่ยวข้อง 2. การสอนโดยการจัดกิจกรรมกลุ่ม เพื่อส่งเสริมการปฏิบัติงานในฐานะผู้นำ ผู้ตามที่ดี โดยผ่านกิจกรรม การทำรายงาน โครงการ โครงงานเพื่อการนำเสนอ3. การสอนโดยใช้การเรียนรู้จากบทบาทสมมุติ กรณีศึกษา หรือสถานการณ์จำลอง เพื่อเรียนรู้การปรับตัว บทบาทความรับผิดชอบ และบทบาทความเป็นผู้นำและผู้ตาม4. การศึกษาดูงาน เรียนรู้นอกสถานที่ เรียนรู้จากประสบการณ์ เรียนรู้จากชุมชน เรียนรู้จากสภาพจริง | 1. ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรม ปฏิสัมพันธ์ในชั้นเรียน ความรับผิดชอบการมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ ที่ได้รับมอบหมาย2. ประเมินจากทักษะการแสดงออกในภาวะผู้นำ ผู้ตามจากสถานการณ์การเรียนการสอนที่กำหนด3. ประเมินจากความสามารถ ในการทำงานการปฏิบัติงานร่วมกัน4. ประเมินจากการนำเสนอ ใบงาน รายงาน ผลงาน หรือผลผลิตของผู้เรียน |
5) ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลการเรียนรู้ | กลยุทธ์การสอน | วิธีการวัดและประเมินผล |
---|---|---|
1. มีทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและข้อมูลต่างๆ2. มีทักษะการสื่อสารทั้งการฟัง พูด อ่าน และเขียน3. สามารถใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการศึกษา รวบรวม เรียบเรียง สร้างสรรค์ และนำเสนอได้อย่างถูกต้อง | 1. การบรรยาย 2. การสาธิต 3. การสอนโดยส่งเสริมการเรียนรู้ที่ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารได้หลากหลายรูปแบบ4. การสอนโดยมอบหมายให้ผู้เรียนได้ใช้การสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การอ่าน การเขียนระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียน ผู้เรียนกับผู้สอน และบุคคลอื่นๆ5. การสอนโดยใช้การเรียนรู้จากกรณีศึกษา บทบาทสมมุติ สถานการณ์จำลอง | 1.ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรม การสื่อสาร การมีส่วนร่วม หรือ การติดต่อผู้สอนผ่านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศการเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ2. ประเมินจากความสามารถ ในการอธิบาย อภิปราย หรือการนำเสนอ3. ประเมินจากใบงาน รายงาน ผลงาน หรือผลผลิตของผู้เรียน ทั้งในด้านการสืบค้นข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การประมวลผลและการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยี เพื่อการนำเสนอในรูปแบบที่เหมาะสม |
2.2 การพัฒนาผลการเรียนรู้ในแต่ละด้านหมวดวิชาเฉพาะ
1) ด้านคุณธรรม จริยธรรม
ผลการเรียนรู้ | กลยุทธ์การสอน | วิธีการวัดและประเมินผล |
---|---|---|
1. มีความซื่อสัตย์สุจริต2. มีระเบียบวินัย3. มีจิตสำนึก ตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ4. เคารพสิทธิและความคิดเห็นของผู้อื่น5. มีจิตสาธารณะ | สาขาวิชามีการจัดรูปแบบการเรียนการสอนที่สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอนทุกรายวิชา และจัดเป็นกิจกรรมเสริมหลักสูตร นอกจากนี้ยังร่วมจัดกิจกรรมกับคณะและสำนักกิจการนักศึกษา โดยมีกลยุทธ์ดังนี้1. การสอนที่ปลูกฝังนักศึกษามีการประพฤติปฏิบัติตนให้อยู่ในความเหมาะสมและแต่งกายถูกระเบียบมหาวิทยาลัย2. กำหนดกติกาในการเข้าชั้นเรียน การปฏิบัติตนระหว่างเรียน และส่งเสริมให้นักศึกษามีน้ำใจเอื้อเฟื้อต่อผู้อื่น3. สอดแทรกประเด็นปัญหาของสังคมมาอภิปรายในรายวิชา แนะนำการปฏิบัติตนที่ถูกต้องตามหลักคุณธรรม จริยธรรม ตลอดจนจรรยาบรรณในวิชาชีพ เช่น การอ้างอิงผลงานทางวิชาการให้ถูกต้องและครบถ้วน และการนำเสนอข้อมูลผลงานการวิจัยให้ถูกต้องตามข้อเท็จจริงและสามารถเผยแพร่ต่อสาธารณชนได้4. ส่งเสริมให้นักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาจิตสาธารณะ มีความเอื้อเฟื้อผ่านกิจกรรมเสริมหลักสูตร เช่น กิจกรรมค่ายอาสา และกิจกรรมพี่สอนน้อง เพื่อบูรณาการองค์ความรู้พื้นฐานกับคุณธรรมจริยธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น | การวัดและประเมินผลด้านคุณธรรม จริยธรรม ใช้การสังเกตพฤติกรรมระหว่างการทำกิจกรรมที่กำหนด และกำหนดคะแนนเรื่องคุณธรรม จริยธรรม ให้เป็นส่วนหนึ่งของคะแนนความประพฤติของนักศึกษา โดยมีรูปแบบการประเมินดังนี้1. ประเมินจากการตรงต่อเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานที่ได้รับมอบหมาย และการร่วมกิจกรรมนอกหลักสูตร2. ประเมินจากความมีวินัยและของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมในหลักสูตร3. ประเมินจากการไม่ทุจริตในการสอบและการลอกเลียนแบบงานของผู้อื่น4. ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย5. ประเมินจากกิจกรรมพัฒนาจิตสาธารณะที่นักศึกษาได้เข้าร่วมกิจกรรม |
2) ด้านความรู้
ผลการเรียนรู้ | กลยุทธ์การสอน | วิธีการวัดและประเมินผล |
---|---|---|
1. มีความรู้ในหลักการและทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์การแพทย์2. มีความรู้พื้นฐานทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และสามารถนำความรู้มาบูรณาการในรายวิชาทางด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ได้3. สามารถติดตามความ ก้าวหน้าทางวิชาการด้าน วิทยาศาสตร์การแพทย์เพื่อให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในยุคโลกไร้พรมแดน4. มีความรอบรู้ในศาสตร์ต่างๆ ที่สามารถนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันหรือการประกอบอาชีพ | 1. เน้นการสอนให้ผู้เรียนได้เรียนรู้หลักการ ทฤษฎี ทักษะปฏิบัติทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ เพื่อให้สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้จริงในการตรวจวิเคราะห์ตัวอย่างสิ่งส่งตรวจเพื่อสนับสนุนการตรวจวินิจฉัยทางการแพทย์2. จัดการเรียนให้มีการอภิปรายผลการทดลองกลุ่ม เช่น วิชาสถิติฯ ระเบียบวิธีวิจัยฯ สัมมนาฯ และโครงการวิจัยฯ เพื่อให้ผู้เรียนมีความคิดสร้างสรรค์ในการวิจัยและพัฒนาการทำงาน พัฒนาวิธีทดสอบ และพัฒนาผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์3. จัดระบบการเรียนการสอนให้ผู้เรียนสามารถแสวงหาความรู้เพิ่มเติมจากงานที่ได้รับมอบหมาย | 1. การทดสอบย่อย 2. การสอบกลางภาคและการสอบปลายภาค3. การนำเสนอผลงานและรายงานในหัวข้อที่ได้รับมอบหมายในชั้นเรียน4. การมีส่วนร่วมในการอภิปรายผลงานของคนอื่น ตลอดจนการตอบปัญหาในชั้นเรียน5. ประเมินจากรายวิชา การนำเสนอผลการวิจัย และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพหรือสหกิจศึกษา |
3) ด้านทักษะทางปัญญา
ผลการเรียนรู้ | กลยุทธ์การสอน | วิธีการวัดและประเมินผล |
---|---|---|
1. สามารถคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ และมีเหตุมีผลตามหลักการทางวิทยาศาสตร์2. นำความรู้วิทยาศาสตร์การแพทย์ไปประยุกต์กับสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม3. มีความใฝ่รู้สามารถวิเคราะห์ และสังเคราะห์ความรู้จากแหล่งข้อมูลต่างๆ ที่มีความหลากหลายได้อย่างถูกต้อง เพื่อนำไปสู่การสร้างสรรค์นวัตกรรม | 1. เน้นการสอนที่กระตุ้นให้นักศึกษาคิดวิเคราะห์ ร่วมอภิปรายปัญหาต่าง ๆ ในชั้นเรียน 2. ส่งเสริมให้นักศึกษามีการค้นคว้าด้วยตนเองและนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้ หรือการอภิปรายประเด็นปัญหาต่างๆ 3. สอนโดยยกกรณีศึกษามาวิเคราะห์ พัฒนาการเรียนรู้ 4. จัดให้มีการศึกษาดูงานในสถานที่จริง ตลอดจนการใช้ผู้เชี่ยวชาญที่มีความรู้ความสามารถในแต่ละด้านมาเป็นวิทยากรให้ความรู้เพิ่มเติมเพื่อเสริมสร้างความสามารถในการเป็นผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์การแพทย์ | 1. ประเมินจากการวัดความ สามารถในการคิดแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์ การอธิบายแนวคิดของปัญหา และวิธีการแก้ปัญหาโดยใช้หลักความรู้ที่เรียนมาหรือหลักการวิจัยทางวิทยาศาสตร์2. ประเมินจากการอภิปรายในชั้นเรียน3. ประเมินจากรายงานและการนำเสนอรายงาน4. ประเมินจากข้อเสนอโครงการ วิจัย การทำโครงการวิจัย และการสอบโครงการวิจัยพร้อมทั้งการจัดทำรูปเล่มรายงานวิจัย 5. ประเมินจากการสอบประมวล ผลความรู้ก่อนจบการศึกษา |
4) ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
ผลการเรียนรู้ | กลยุทธ์การสอน | วิธีการวัดและประเมินผล |
---|---|---|
1. มีภาวะผู้นำ สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นในฐานะผู้นำและสมาชิกที่ดี2. มีความรับผิดชอบต่อสังคมและองค์กร รวมทั้งพัฒนาตนเองและพัฒนางาน3. สามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมขององค์กร | 1. กระตุ้นให้เกิดปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียนด้วยกันเอง ร่วมกันหาแนวทางในการแก้ปัญหาและแบ่งความรับผิดชอบในการทำงานร่วมกัน 2. ฝึกความเป็นผู้นำในการอภิปรายในแต่ละหัวข้อ 3. กำหนดระเบียบปฏิบัติในการใช้อุปกรณ์เครื่องมือต่าง ๆ ในห้องปฏิบัติการร่วมกัน4. รายวิชาการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ หรือรายวิชาสหกิจศึกษา โดยนักศึกษาต้องมีการจัดทำบัณฑิตนิพนธ์ และมีการนำเสนอผลการฝึกประสบการณ์จากหน่วยงานในรูปของการสัมมนา | 1. ประเมินจากพฤติกรรมการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียน2. ประเมินจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่าง ๆ 3. ประเมินจากการใช้ห้อง ปฏิบัติการ อุปกรณ์ ตลอดจนการใช้เครื่องมือในห้อง ปฏิบัติการได้อย่างถูกต้องเหมาะสม4. ประเมินทักษะการปฏิบัติงานด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ และความสามารถในการทำงานร่วมกับสหวิชาชีพอื่น |
5) ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลการเรียนรู้ | กลยุทธ์การสอน | วิธีการวัดและประเมินผล |
---|---|---|
1. สามารถประยุกต์ความรู้ทางคณิตศาสตร์และสถิติเพื่อการวิเคราะห์ประมวลผล การแก้ปัญหา และการนำเสนอข้อมูลได้อย่างถูกต้องเหมาะสม2. มีทักษะการใช้ภาษาเพื่อสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งเลือกใช้รูปแบบการสื่อสารได้อย่างเหมาะสม3. มีทักษะและความรู้ภาษา อังกฤษหรือภาษาต่างประเทศอื่น ๆ เพื่อการค้นคว้าได้อย่างเหมาะสมและจำเป็น4. สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้น เก็บรวบรวมข้อมูลและนำเสนอข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพและเหมาะกับสถานการณ์ | 1. มอบหมายงานที่ต้องใช้ทักษะในการวิเคราะห์ หรือการคำนวณ รวมทั้งการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงตัวเลขจากปฏิบัติการ หรือข้อมูล ที่ได้จากการวิจัย2. มอบหมายงานเพื่อให้นักศึกษาได้เรียบเรียงภาษาที่ใช้ในการเขียน และมีการนำเสนอผลการศึกษาหน้าชั้นเรียนโดยการนำเสนอนั้นต้องมีสื่อที่นักศึกษาเลือกใช้ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม3. มอบหมายให้นักศึกษามีการสืบค้นข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ 4. ฝึกให้นักศึกษาทำงานวิจัยผ่านการศึกษาค้นคว้าข้อมูล การศึกษาทดลอง การวิเคราะห์ข้อมูล การสรุปผลการทดลองพร้อมทั้งจัดทำรายงานโครงการวิจัยและส่งเสริมให้นักศึกษามีการนำเสนอผลงานต่อสาธารณชนในรูปแบบต่าง ๆ | 1. ประเมินจากการสอบในรายวิชาที่มีการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ และการนำเสนอรายงานที่มีการใช้ความรู้ทางคณิตศาสตร์และสถิติในการวิเคราะห์2. ประเมินจากกิจกรรมต่าง ๆ ที่มีการนำเสนอโดยการใช้ทักษะทางภาษาและเทคโนโลยีสารสนเทศ |
3. แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum mapping)
3.1 มาตรฐานผลการเรียนรู้
3.1.1 มาตรฐานผลการเรียนรู้รายวิชาศึกษาทั่วไป
ด้านคุณธรรมจริยธรรม
1. มีคุณธรรมจริยธรรมในการดำเนินชีวิต
2. เคารพกฎเกณฑ์ทางสังคมและมีค่านิยมที่ดีงาม
ด้านความรู้
1. มีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาวิชาที่ศึกษา
2. มีความรู้ความเข้าใจประเพณี วัฒนธรรมไทย และสากล เพื่อนำไปใช้ในการดำเนินชีวิต
3. มีความรู้ความเข้าใจถึงผลกระทบจากความประพฤติที่ไม่เป็นไปตามกฎเกณฑ์ของสังคม
ด้านทักษะทางปัญญา
1. มีทักษะการแสวงหาความรู้ ติดตามการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
2. มีทักษะการคิดอย่างเป็นระบบ วิเคราะห์ สังเคราะห์ วิพากษ์ สร้างสรรค์ และมีวิจารณญาณ
3. มีทักษะการแก้ปัญหาอย่างถูกต้องตามหลักการ
ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และความรับผิดชอบ
1. มีความรับผิดชอบต่อตนเอง และส่วนรวม
2. มีความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่นที่มีความแตกต่างกัน
3. มีทักษะการเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดีในการทำงานกลุ่ม
ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
1. มีทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและข้อมูลต่างๆ
2. มีทักษะการสื่อสารทั้งการฟัง พูด อ่าน และเขียน
3. สามารถใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการศึกษา รวบรวม เรียบเรียง สร้างสรรค์ และนำเสนอได้อย่างถูกต้อง
3.1.2 มาตรฐานผลการเรียนรู้รายวิชาเฉพาะ
มาตรฐานผลการเรียนรู้หมวดวิชาเฉพาะ มีการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้สู่รายวิชา (ตามที่ระบุในหมวดที่ 4 ข้อ 2.2) เป็นความรับผิดชอบหลักหรือรับผิดชอบรองซึ่งแสดงไว้ในรูปแบบแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบ โดยผลการเรียนรู้ในแผนที่มีความหมายดังนี้
ด้านคุณธรรม จริยธรรม
- มีความซื่อสัตย์สุจริต
- มีระเบียบวินัย
- มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
- เคารพสิทธิและความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีจิตสาธารณะ
ด้านความรู้
- มีความรู้ในหลักการและทฤษฎีทางด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์
- มีความรู้พื้นฐานทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ และสามารถนำมาบูรณาการในวิชาทางด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ได้
- สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์เพื่อให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในยุคโลกไร้พรมแดน
- มีความรอบรู้ในศาสตร์ต่าง ๆ ที่สามารถนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้
ด้านทักษะทางปัญญา
- สามารถคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ และมีเหตุมีผลตามหลักการทางวิทยาศาสตร์
- นำความรู้ทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ไปประยุกต์กับสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
- มีความใฝ่รู้สามารถวิเคราะห์ และสังเคราะห์ความรู้จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่มีความหลากหลายได้อย่างถูกต้อง เพื่อนำไปสู่การสร้างสรรค์นวัตกรรม
ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
- มีภาวะผู้นำ สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นในฐานะผู้นำและสมาชิกที่ดี
- มีความรับผิดชอบต่อสังคมและองค์กร
- สามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมขององค์กร
ด้านทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
- สามารถประยุกต์ความรู้ทางคณิตศาสตร์และสถิติเพื่อการวิเคราะห์ ประมวลผล การแก้ปัญหา และการนำเสนอข้อมูลได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
- มีทักษะการใช้ภาษาเพื่อสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งเลือกใช้รูปแบบการสื่อสารได้อย่างเหมาะสม
- มีทักษะและความรู้ภาษาอังกฤษหรือภาษาต่างประเทศอื่น ๆ เพื่อการค้นคว้าได้ดี
- สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้น เก็บรวบรวมข้อมูล และนำเสนอข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพและเหมาะกับสถานการณ์
3.2 ความรับผิดชอบของรายวิชา
ความรับผิดชอบในหลักสูตรที่มีต่อผลการเรียนรู้ แสดงดังนี้
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum mapping)
หมวดวิชาศึกษาทั่วไป
● หมายถึง ความรับผิดชอบหลัก ○ หมายถึง ความรับผิดชอบรอง
1.ด้านคุณธรรมจริยธรรม | 2.ด้านความรู้ | 3. ด้านทักษะทางปัญญา | 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | 5. ด้านทักษะ การวิเคราะห์ เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | |||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | 2 | 1 | 2 | 3 | 1 | 2 | 3 | 1 | 2 | 3 | 1 | 2 | 3 | ||
GE 01101 | ศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาท้องถิ่น | ⬤ | 🞅 | ⬤ | 🞅 | ⬤ | 🞅 | ⬤ | ⬤ | ⬤ | 🞅 | 🞅 | ⬤ | ||
GE 01201 | วิถีพลเมืองและกฎหมายในชีวิตประจำวัน | ⬤ | ⬤ | ⬤ | ⬤ | 🞅 | ⬤ | 🞅 | ⬤ | ⬤ | 🞅 | ⬤ | |||
GE 01202 | พลวัตสังคมไทยและสังคมโลก | 🞅 | ⬤ | ⬤ | ⬤ | 🞅 | ⬤ | ⬤ | 🞅 | ⬤ | 🞅 | 🞅 | ⬤ | ||
GE 02101 | ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในยุคดิจิทัล | ⬤ | ⬤ | ⬤ | 🞅 | ⬤ | ⬤ | 🞅 | ⬤ | 🞅 | ⬤ | ⬤ | |||
GE 02102 | ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารร่วมสมัย | ⬤ | ⬤ | ⬤ | ⬤ | ⬤ | 🞅 | ⬤ | 🞅 | ||||||
GE 02201 | การรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศ | ⬤ | ⬤ | 🞅 | ⬤ | ⬤ | 🞅 | 🞅 | ⬤ | 🞅 | ⬤ | ⬤ | |||
GE 02202 | ภาษาเกาหลีในชีวิตประจำวัน | ⬤ | ⬤ | ⬤ | ⬤ | ⬤ | ⬤ | ⬤ | |||||||
GE 02203 | ภาษาเขมรในชีวิตประจำวัน | ⬤ | ⬤ | ⬤ | ⬤ | ⬤ | ⬤ | ⬤ | |||||||
GE 02204 | ภาษาจีนในชีวิตประจำวัน | ⬤ | ⬤ | ⬤ | ⬤ | ⬤ | ⬤ | ⬤ | |||||||
GE 02205 | ภาษาญี่ปุ่นในชีวิตประจำวัน | ⬤ | ⬤ | ⬤ | ⬤ | ⬤ | ⬤ | ⬤ | |||||||
GE 02206 | ภาษามลายูในชีวิตประจำวัน | ⬤ | ⬤ | ⬤ | ⬤ | ⬤ | ⬤ | ⬤ | |||||||
GE 02207 | ภาษาลาวในชีวิตประจำวัน | ⬤ | ⬤ | ⬤ | ⬤ | ⬤ | ⬤ | ⬤ | |||||||
GE 02208 | ภาษาเวียดนามในชีวิตประจำวัน | ⬤ | ⬤ | ⬤ | ⬤ | ⬤ | ⬤ | ⬤ | |||||||
GE 02209 | ภาษาสเปนในชีวิตประจำวัน | ⬤ | ⬤ | ⬤ | ⬤ | ⬤ | ⬤ | ⬤ | |||||||
GE 03101 | ชีวิตดีมีความสุข | ⬤ | ⬤ | ⬤ | 🞅 | ⬤ | 🞅 | ⬤ | ⬤ | ⬤ | 🞅 | ⬤ | |||
GE 03201 | ศิลปะและความงามของชีวิต | ⬤ | ⬤ | ⬤ | ⬤ | 🞅 | ⬤ | 🞅 | ⬤ | 🞅 | 🞅 | 🞅 | |||
GE 03202 | ศิลปะการใช้ชีวิต | 🞅 | ⬤ | ⬤ | ⬤ | 🞅 | 🞅 | ⬤ | ⬤ | 🞅 | 🞅 | ||||
GE 04101 | ประกอบการธุรกิจเชิงสร้างสรรค์ | ⬤ | ⬤ | 🞅 | ⬤ | ⬤ | 🞅 | ⬤ | 🞅 | ⬤ | 🞅 | ||||
GE 04201 | การวางแผนทางการเงินเพื่อความมั่นคง | 🞅 | ⬤ | ⬤ | 🞅 | 🞅 | ⬤ | 🞅 | 🞅 | ⬤ | |||||
GE 04202 | การทำงานอย่างมีความสุข | ⬤ | ⬤ | ⬤ | 🞅 | 🞅 | ⬤ | ⬤ | |||||||
GE 05101 | รู้คิดชีวิตก้าวหน้า | ⬤ | 🞅 | ⬤ | 🞅 | 🞅 | ⬤ | ⬤ | 🞅 | 🞅 | ⬤ | ⬤ | 🞅 | ||
GE 05102 | ทักษะการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล | ⬤ | ⬤ | ⬤ | ⬤ | 🞅 | 🞅 | ⬤ | 🞅 | 🞅 | ⬤ | ||||
GE 05201 | เทคโนโลยีดิจิทัลสำหรับนักธุรกิจมือใหม่ | ⬤ | ⬤ | ⬤ | ⬤ | ⬤ | ⬤ | ⬤ | ⬤ | 🞅 | ⬤ | ||||
GE 05202 | รักษ์โลกรักษ์เรา | 🞅 | ⬤ | ⬤ | 🞅 | 🞅 | ⬤ | 🞅 | ⬤ | 🞅 | 🞅 | ⬤ | |||
GE 03301 | จังหวะของชีวิต | ⬤ | ⬤ | 🞅 | ⬤ | ⬤ | 🞅 | ⬤ | |||||||
GE 03302 | การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ | ⬤ | ⬤ | 🞅 | ⬤ | ⬤ | 🞅 | ⬤ | |||||||
GE 03303 | การเต้นสมัยใหม่ | 🞅 | ⬤ | ⬤ | 🞅 | ⬤ | ⬤ | 🞅 | ⬤ | 🞅 | ⬤ |
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum mapping)
หมวดวิชาเฉพาะ
● หมายถึง ความรับผิดชอบหลัก ○ หมายถึง ความรับผิดชอบรอง
รายวิชา | 1. ด้านคุณธรรมจริยธรรม | 2. ด้านความรู้ | 3. ด้านทักษะปัญญา | 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | |||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 1 | 2 | 3 | 1 | 2 | 3 | 4 | ||
วิชาเฉพาะ แกนวิทยาศาสตร์ | ||||||||||||||||||||
SC 01101 | คณิตศาสตร์เบื้องต้น | 🞅 | ⬤ | 🞅 | 🞅 | ⬤ | ⬤ | ⬤ | 🞅 | 🞅 | ⬤ | ⬤ | 🞅 | |||||||
SC 01103 | ฟิสิกส์เบื้องต้น | ⬤ | ⬤ | ⬤ | 🞅 | ⬤ | ⬤ | ⬤ | ⬤ | ⬤ | 🞅 | |||||||||
SC 01010 | ชีววิทยา 1 | ⬤ | ⬤ | 🞅 | 🞅 | 🞅 | ⬤ | 🞅 | 🞅 | 🞅 | ⬤ | 🞅 | ⬤ | 🞅 | 🞅 | ⬤ | ||||
SC 01011 | ปฏิบัติการชีววิทยา 1 | ⬤ | ⬤ | 🞅 | 🞅 | 🞅 | ⬤ | 🞅 | 🞅 | 🞅 | ⬤ | 🞅 | 🞅 | ⬤ | 🞅 | 🞅 | ⬤ | 🞅 | 🞅 | ⬤ |
SC 01013 | ภาษาอังกฤษสำหรับนักวิทยาศาสตร์ | ⬤ | 🞅 | ⬤ | ⬤ | ⬤ | ⬤ | ⬤ | ⬤ | ⬤ | ||||||||||
วิชาเฉพาะ เอกบังคับ | ||||||||||||||||||||
SC 13101 | เคมีสำหรับวิทยาศาสตร์การแพทย์ | 🞅 | ⬤ | 🞅 | 🞅 | ⬤ | ⬤ | ⬤ | 🞅 | ⬤ | ⬤ | 🞅 | ||||||||
SC 13102 | เคมีวิเคราะห์สำหรับวิทยาศาสตร์การแพทย์ | 🞅 | ⬤ | 🞅 | 🞅 | ⬤ | ⬤ | ⬤ | 🞅 | ⬤ | ⬤ | 🞅 | ||||||||
SC 13103 | ชีวเคมีสำหรับวิทยาศาสตร์การแพทย์ | 🞅 | ⬤ | 🞅 | 🞅 | ⬤ | ⬤ | ⬤ | 🞅 | ⬤ | ⬤ | 🞅 | ||||||||
SC 13104 | จุลชีววิทยา | ⬤ | 🞅 | 🞅 | ⬤ | ⬤ | 🞅 | ⬤ | ⬤ | ⬤ | 🞅 | 🞅 | ||||||||
SC 13201 | ภาษาอังกฤษสำหรับวิทยาศาสตร์การแพทย์ | 🞅 | ⬤ | ⬤ | ⬤ | 🞅 | ⬤ | 🞅 | 🞅 | ⬤ | 🞅 | |||||||||
SC 13202 | ปฏิบัติการเครื่องมือวิทยาศาสตร์และการจัดการห้องปฏิบัติการ | 🞅 | ⬤ | 🞅 | 🞅 | ⬤ | ⬤ | ⬤ | ⬤ | 🞅 | ⬤ | 🞅 | ⬤ | 🞅 | ⬤ | |||||
SC 13203 | ปฏิบัติการชีววิทยาโมเลกุลทางการแพทย์ | 🞅 | ⬤ | 🞅 | 🞅 | ⬤ | ⬤ | ⬤ | ⬤ | 🞅 | ⬤ | 🞅 | ⬤ | 🞅 | ⬤ | |||||
SC 13204 | การเพาะเลี้ยงและการใช้จุลินทรีย์ก่อโรค | 🞅 | ⬤ | 🞅 | ⬤ | ⬤ | 🞅 | ⬤ | ⬤ | 🞅 | ⬤ | ⬤ | 🞅 | |||||||
SC 13205 | วัสดุศาสตร์ทางการแพทย์ | 🞅 | ⬤ | 🞅 | 🞅 | ⬤ | ⬤ | 🞅 | ⬤ | 🞅 | ⬤ | ⬤ | ⬤ | 🞅 | ||||||
SC 13206 | ไวรัสวิทยาทางการแพทย์ | 🞅 | 🞅 | ⬤ | ⬤ | 🞅 | ⬤ | ⬤ | 🞅 | 🞅 | ⬤ | 🞅 | ||||||||
SC 13207 | กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของมนุษย์ | 🞅 | ⬤ | ⬤ | 🞅 | ⬤ | 🞅 | ⬤ | 🞅 | |||||||||||
SC 13208 | พยาธิวิทยา | 🞅 | ⬤ | ⬤ | 🞅 | ⬤ | 🞅 | 🞅 | ||||||||||||
SC 13209 | เนื้อเยื่อวิทยา | 🞅 | ⬤ | ⬤ | 🞅 | ⬤ | 🞅 | ⬤ | 🞅 | |||||||||||
SC 13301 | กัญชา กัญชงและพืชกระท่อม ทางการแพทย์ | ⬤ | 🞅 | ⬤ | 🞅 | ⬤ | 🞅 | 🞅 | ⬤ | ⬤ | 🞅 | ⬤ | 🞅 | |||||||
SC 13302 | เภสัชวิทยาและพิษวิทยา | 🞅 | ⬤ | 🞅 | ⬤ | ⬤ | 🞅 | ⬤ | 🞅 | 🞅 | ⬤ | 🞅 | ||||||||
SC 13303 | มาตรฐานสากลระบบบริหารคุณภาพทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ | ⬤ | 🞅 | ⬤ | ⬤ | ⬤ | ⬤ | 🞅 | ⬤ | 🞅 | 🞅 | 🞅 | 🞅 | 🞅 | ||||||
SC 13304 | หลักการตลาดและการบัญชี | ⬤ | ⬤ | 🞅 | ⬤ | ⬤ | 🞅 | 🞅 | ⬤ | ⬤ | ⬤ | |||||||||
SC 13305 | การเป็นผู้ประกอบการทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ | ⬤ | ⬤ | ⬤ | ⬤ | ⬤ | ⬤ | 🞅 | ⬤ | ⬤ | ⬤ | 🞅 | ⬤ | |||||||
SC 13306 | สถิติสำหรับวิทยาศาสตร์การแพทย์ | ⬤ | ⬤ | 🞅 | 🞅 | ⬤ | ⬤ | ⬤ | 🞅 | 🞅 | 🞅 | ⬤ | 🞅 | |||||||
SC 13307 | ระเบียบวิธีวิจัย จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์และสัตว์ทดลอง | ⬤ | 🞅 | 🞅 | ⬤ | ⬤ | ⬤ | ⬤ | ⬤ | 🞅 | ⬤ | ⬤ | ⬤ | ⬤ | ||||||
วิชาเฉพาะ เอกเลือกกลุ่มปฏิบัติการทางการแพทย์ | ||||||||||||||||||||
SC 13308 | ปรสิตวิทยาและกีฏวิทยาทางการแพทย์ | ⬤ | 🞅 | 🞅 | ⬤ | ⬤ | 🞅 | ⬤ | ⬤ | 🞅 | 🞅 | 🞅 | ||||||||
SC 13309 | ภูมิคุ้มกันและเทคโนโลยีการผลิตวัคซีน | 🞅 | 🞅 | ⬤ | ⬤ | 🞅 | ⬤ | 🞅 | 🞅 | ⬤ | 🞅 | |||||||||
SC 13310 | การตรวจหาตัวบ่งชี้ทางชีวภาพของมะเร็ง | 🞅 | 🞅 | ⬤ | ⬤ | 🞅 | ⬤ | 🞅 | 🞅 | 🞅 | ⬤ | 🞅 | ||||||||
SC 13311 | นิติวิทยาศาสตร์ | ⬤ | 🞅 | ⬤ | ⬤ | ⬤ | 🞅 | ⬤ | 🞅 | 🞅 | 🞅 | |||||||||
SC 13312 | การเก็บรักษาเซลล์และสายพันธุ์จุลินทรีย์เพื่องานทางการแพทย์ | 🞅 | ⬤ | 🞅 | ⬤ | 🞅 | 🞅 | ⬤ | 🞅 | ⬤ | ⬤ | 🞅 | ||||||||
SC 13313 | จุลทรรศนศาสตร์และภาพชีวภาพ | 🞅 | 🞅 | ⬤ | ⬤ | 🞅 | ⬤ | 🞅 | 🞅 | 🞅 | ⬤ | 🞅 | ||||||||
SC 13314 | การตรวจสอบและการสกัดสารสำคัญจากพืชสมุนไพร | ⬤ | 🞅 | ⬤ | ⬤ | 🞅 | ⬤ | ⬤ | 🞅 | 🞅 | ⬤ | 🞅 | 🞅 | |||||||
SC 13315 | เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการเครื่องมือแพทย์ | ⬤ | ⬤ | ⬤ | 🞅 | ⬤ | ⬤ | ⬤ | 🞅 | ⬤ | ⬤ | |||||||||
SC 13316 | ความชราภาพทางชีววิทยาและเวชศาสตร์ฟื้นฟูชะลอวัย | ⬤ | 🞅 | ⬤ | 🞅 | ⬤ | ⬤ | ⬤ | 🞅 | 🞅 | ⬤ | 🞅 | ||||||||
กลุ่มวัสดุและผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ | ||||||||||||||||||||
SC 13317 | อุตสาหกรรมเครื่องมือและผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ | ⬤ | 🞅 | ⬤ | ⬤ | 🞅 | ⬤ | ⬤ | ⬤ | 🞅 | 🞅 | 🞅 | ||||||||
SC 13318 | การผลิตวัสดุและผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ | ⬤ | ⬤ | 🞅 | ⬤ | ⬤ | 🞅 | ⬤ | 🞅 | ⬤ | 🞅 | ⬤ | 🞅 | 🞅 | ||||||
SC 13319 | การออกแบบวัสดุทางการแพทย์ด้วยคอมพิวเตอร์ | ⬤ | 🞅 | ⬤ | ⬤ | 🞅 | ⬤ | 🞅 | 🞅 | 🞅 | 🞅 | 🞅 | ⬤ | |||||||
SC 13320 | วัสดุชีวภาพทางการแพทย์ | ⬤ | 🞅 | 🞅 | ⬤ | ⬤ | 🞅 | 🞅 | ⬤ | 🞅 | ⬤ | ⬤ | 🞅 | ⬤ | ||||||
SC 13321 | วัสดุอนินทรีย์ทางการแพทย์ | 🞅 | ⬤ | ⬤ | ⬤ | 🞅 | 🞅 | ⬤ | 🞅 | ⬤ | ⬤ | 🞅 | 🞅 | |||||||
SC 13322 | พฤกษเคมีและผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ | 🞅 | ⬤ | 🞅 | 🞅 | 🞅 | ⬤ | 🞅 | ⬤ | ⬤ | 🞅 | ⬤ | ||||||||
SC 13323 | เทคนิคการวิเคราะห์เชิงเครื่องมือ | ⬤ | 🞅 | ⬤ | ⬤ | ⬤ | 🞅 | 🞅 | ⬤ | 🞅 | ||||||||||
SC 13324 | นาโนเทคโนโลยีทางการแพทย์ | ⬤ | 🞅 | 🞅 | ⬤ | ⬤ | 🞅 | 🞅 | ⬤ | 🞅 | ⬤ | ⬤ | 🞅 | ⬤ | ||||||
SC 13325 | เทคโนโลยีระบบนำส่งยา | ⬤ | 🞅 | ⬤ | 🞅 | 🞅 | ⬤ | 🞅 | 🞅 | ⬤ | 🞅 | 🞅 | ||||||||
SC 13326 | การออกแบบโมเลกุลยา | ⬤ | 🞅 | ⬤ | 🞅 | 🞅 | ⬤ | 🞅 | 🞅 | ⬤ | 🞅 | 🞅 | ||||||||
SC 13327 | สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ | 🞅 | ⬤ | ⬤ | ⬤ | 🞅 | 🞅 | ⬤ | 🞅 | 🞅 | 🞅 | ⬤ | ||||||||
SC 13328 | การจัดการขยะติดเชื้อ | 🞅 | ⬤ | ⬤ | 🞅 | ⬤ | 🞅 | 🞅 | ⬤ | 🞅 | ⬤ | 🞅 | 🞅 | 🞅 | ⬤ | |||||
กลุ่มวิชาชีพ | ||||||||||||||||||||
แผนการเรียนฝึกประสบการณ์วิชาชีพ | ||||||||||||||||||||
SC 13401 | สัมมนาทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ | 🞅 | ⬤ | 🞅 | ⬤ | 🞅 | 🞅 | ⬤ | 🞅 | ⬤ | ⬤ | ⬤ | 🞅 | ⬤ | 🞅 | ⬤ | 🞅 | ⬤ | ⬤ | |
SC 13402 | โครงการวิจัยทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ | ⬤ | ⬤ | 🞅 | 🞅 | ⬤ | ⬤ | 🞅 | 🞅 | ⬤ | 🞅 | ⬤ | 🞅 | ⬤ | ⬤ | ⬤ | 🞅 | |||
SC 13403 | การฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ | ⬤ | ⬤ | ⬤ | ⬤ | ⬤ | ⬤ | 🞅 | 🞅 | ⬤ | 🞅 | ⬤ | ⬤ | ⬤ | ⬤ | ⬤ | ⬤ | 🞅 | 🞅 | |
แผนการเรียนสหกิจศึกษา | ||||||||||||||||||||
SC 13404 | เตรียมสหกิจศึกษาทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ | ⬤ | 🞅 | 🞅 | ⬤ | ⬤ | 🞅 | ⬤ | ⬤ | 🞅 | 🞅 | 🞅 | ||||||||
SC 13405 | สหกิจศึกษาทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ | ⬤ | ⬤ | ⬤ | ⬤ | ⬤ | ⬤ | ⬤ | 🞅 | ⬤ | ⬤ | ⬤ | ⬤ | ⬤ | ⬤ | ⬤ | ⬤ | ⬤ | 🞅 | 🞅 |
หมวดที่ 5 หลักเกณฑ์ในการประเมินผลนักศึกษา
1. กฎระเบียบหรือหลักเกณฑ์ในการให้ระดับคะแนน (เกรด)
การประเมินผลการเรียนให้เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยาว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ.2560
2. กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา
2.1 การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้ระดับรายวิชา ขณะนักศึกษายังไม่สำเร็จการศึกษา
2.1.1 อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาประเมินความสอดคล้องของข้อสอบถึงผลการเรียนรู้ตาม กรอบมาตรฐานของหลักสูตร
2.1.2 สาขาวิชาประเมินความสอดคล้องของข้อสอบกับวัตถุประสงค์ของรายวิชา
2.1.3 นักศึกษาประเมินการเรียนการสอนในระดับรายวิชา
2.1.4 ทวนสอบผลสัมฤทธิ์จากแบบประเมินตนเองหลังสิ้นสุดการเรียนการสอนและจากกิจกรรม บริการวิชาการที่สาขาวิชาได้จัดขึ้นโดยผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกหลักสูตร
2.1.5 การนำเสนอผลการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง การอภิปรายและการตอบคำถาม
2.1.6 คณะกรรมการประจำสาขารับรองผลการประเมินของรายวิชา
2.1.7 ประเมินจากผลการฝึกประสบการณ์วิชาชีพหรือสหกิจศึกษาจากสถานประกอบการวิชาชีพทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
2.2 การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้ระดับหลักสูตร หลังจากนักศึกษาสำเร็จการศึกษา
2.2.1 ประเมินจากภาวะการมีงานทำของบัณฑิต
2.2.2 ประเมินจากการทำงานที่ตรงกับสาขาวิชาที่นักศึกษาเรียน
2.2.3 ประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต
3. เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร
การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตรเป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยาว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ.2560 หมวด 7 การสำเร็จการศึกษา
ข้อ 36 ผู้สำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร ต้องมีคุณสมบัติครบถ้วน ดังนี้
(1) เป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรม วัฒนธรรม ความประพฤติดีอันเป็นเกียรติและศักดิ์ ของนักศึกษา และไม่เคยได้รับโทษทางจริยธรรมที่ไม่ให้สำเร็จการศึกษาตามข้อบังคับของมหาวิทยาลัย
(2) สอบได้รายวิชาต่างๆ และปฏิบัติตามเงื่อนไขครบตามหลักสูตร
(3) ได้ระดับค่าคะแนนเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตร ไม่ต่ำกว่า 2.00
(4) มีระยะเวลาเรียน และสภาพการเป็นนักศึกษาตามที่มหาวิทยาลัยกำหนด
(5) ไม่ค้างค่าธรรมเนียมการศึกษาหรือเงินอื่นๆ ตามที่มหาวิทยาลัยเรียกเก็บ
(6) ต้องผ่านการทดสอบความรู้ภาษาอังกฤษตามแบบทดสอบมาตรฐานระดับอุดมศึกษา ที่มหาวิทยาลัยกำหนดหรือผ่านการทดสอบวัดสมิทธิภาพทางภาษาอังกฤษ (English Proficiency) หรือมาตรฐานอื่นที่มหาวิทยาลัยรับรอง
หมวดที่ 6 การพัฒนาคณาจารย์
1. การเตรียมการสำหรับอาจารย์ใหม่
1.1 กำหนดให้อาจารย์ใหม่ทุกคนต้องเข้าร่วมการปฐมนิเทศอาจารย์ใหม่ที่จัดโดยมหาวิทยาลัย
1.2 สาขาวิชาจัดให้มีอาจารย์พี่เลี้ยง เพื่อให้คำปรึกษาเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน ระเบียบกฎเกณฑ์ต่าง ๆ และการพัฒนาความรู้โดยการทำผลงานวิชาการ
1.3 กำหนดให้อาจารย์ใหม่ทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการโดยการเข้าร่วมการอบรมในโครงการที่เกี่ยวข้องกับรายวิชาที่สอน
1.4 ให้การสนับสนุนและส่งเสริมการเข้าร่วมกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะและคุณภาพการเรียนการสอนแก่อาจารย์ใหม่
1.5 จัดอุปกรณ์พื้นฐานสำหรับการจัดการเรียนการสอนการปฏิบัติงานในหน้าที่ต่าง ๆ ในการทำงานวิจัย
2. การพัฒนาความรู้และทักษะให้แก่คณาจารย์
2.1 การพัฒนาทักษะการจัดการเรียนการสอน การวัดและการประเมินผล โดยส่งเสริมให้อาจารย์เข้าร่วมกิจกรรมการอบรมในเรื่องต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องทั้งในและนอกมหาวิทยาลัย
2.2 การพัฒนาวิชาการและวิชาชีพด้านอื่น ๆ สาขาวิชา คณะ และมหาวิทยาลัย สนับสนุนและให้งบประมาณในการเข้าร่วมประชุมทางวิชาการเพื่อเพิ่มพูนความรู้ในด้านต่าง ๆ โดยเน้นที่เกี่ยวข้องกับการเสริมสร้างอัตลักษณ์นักศึกษาวิทยาศาสตร์การแพทย์ ตลอดจนสนับสนุนให้เข้าร่วมการนำเสนอผลงานทางวิชาการทั้งในประเทศและต่างประเทศ
หมวดที่ 7 การประกันคุณภาพหลักสูตร
1. การกำกับมาตรฐาน
สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์ได้บริหารจัดการหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์ตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่กำหนด โดย สป.อว. ดังนี้
- มีคณะกรรมการประจำหลักสูตรซึ่งได้รับการแต่งตั้งจากมหาวิทยาลัย ทำหน้าที่บริหารปรับปรุงและควบคุมมาตรฐานของหลักสูตรให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรอุดมศึกษา และกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี ควบคุมการจัดการเรียนการสอนและประเมินผลให้เป็นไปตามข้อกำหนดของหลักสูตร
- ก่อนเปิดภาคการศึกษามีการแต่งตั้งผู้ประสานงานรายวิชาและมีการประชุมคณาจารย์ที่สอนในกลุ่มวิชาเพื่อยืนยันการจัดตารางการเรียนการสอนและมอบหมายให้คณาจารย์เตรียมความพร้อมในเรื่องการจัดทำ มคอ.3 มคอ.4 เอกสารประกอบการสอนต่าง ๆ อุปกรณ์ เครื่องมือ รวมทั้งสื่อที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอน
- สาขาวิชาควบคุม ดูแล การจัดการเรียนการสอนและประเมินผลการเรียนให้เป็นไปตามรายละเอียดของรายวิชาที่มีในหลักสูตรที่รับผิดชอบและนำเสนอต่อคณะกรรมการประจำหลักสูตร
- คณะกรรมการประจำหลักสูตรควบคุมคุณภาพการจัดการเรียนการสอนทุกรายวิชาและดำเนินการประเมินผลการสอนของอาจารย์ รวมทั้งรวบรวม มคอ.5 และมคอ.6
- สาขาวิชาได้จัดทำรายงานผลการดำเนินงานของหลักสูตร (มคอ.7) และมีการตรวจประเมินคุณภาพภายในระดับหลักสูตรให้กับมหาวิทยาลัยอย่างต่อเนื่องทุกปี
2. บัณฑิต
คณะกรรมการประจำหลักสูตรประชุมเพื่อแต่งตั้งผู้รับผิดชอบ ประสานงาน และติดตามการดำเนินงานตามตัวชี้วัดทั้ง 2 ด้าน ดังนี้
1) คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
1.1) มีคณะกรรมการประจำหลักสูตร ทำหน้าที่ติดตามการดำเนินงานให้เป็นไปตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาที่ครอบคลุมผลการเรียนรู้อย่างน้อย 5 ด้าน คือ ด้านคุณธรรมจริยธรรม ด้านความรู้ ด้านทักษะทางปัญญา ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ และด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ รวมทั้งให้เป็นไปตามสมรรถนะที่กำหนดใน แต่ละชั้นปี
1.2) มีคณะกรรมการประจำหลักสูตรเก็บรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ จากผู้ใช้บัณฑิต ประกอบด้วย ร้อยละของความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต พร้อมทั้งรวบรวมข้อเสนอแนะของผู้ใช้บัณฑิต
1.3) ประชุมคณะกรรมการประจำหลักสูตร เพื่อวิเคราะห์ผลร้อยละของความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต รวมทั้งสรุปข้อเสนอแนะต่าง ๆ
2) ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี
2.1) แต่งตั้งคณะกรรมการประจำหลักสูตร ทำหน้าที่ติดตามเก็บรวบรวมข้อมูลภาวะการมีงานทำของบัณฑิตสาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์ ร้อยละของบัณฑิตที่ได้งานทำตรงกับคุณวุฒิ และแนวโน้มตลาดแรงงานที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์การแพทย์ตลอดระยะเวลาที่เปิดหลักสูตร
2.2) ประชุมคณะกรรมการหลักสูตรเพื่อวิเคราะห์ผลร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระ
3. นักศึกษา
- การรับนักศึกษา
- อาจารย์ประจำหลักสูตรประชุมเพื่อพิจารณาร่วมกันในการกำหนดคุณสมบัติและจำนวนการรับนักศึกษาใหม่ตามแผนรับ โดยหลักสูตรกำหนดรับนักศึกษาปีการศึกษาละ 30 คน ตาม มคอ.2 และแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสัมภาษณ์นักศึกษาใหม่
- สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียนดำเนินการทำประกาศ และประชาสัมพันธ์ในทุกช่องทางของมหาวิทยาลัย
- ดำเนินการสอบคัดเลือกตามประกาศของสำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน
- ประมวลผลการสอบคัดเลือกและประกาศผลการสอบคัดเลือก โดยการติดประกาศในป้ายประกาศของสำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน และประกาศบนเว็บไซต์ของมหาวิทยาลัย
- นักศึกษาใหม่เข้ารับการรายงานตัวพร้อมทั้งชำระค่าธรรมเนียมการศึกษาที่สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน และเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ที่มหาวิทยาลัยกำหนด เช่น การตรวจสุขภาพ การปฐมนิเทศก้าวแรกสู่รั้วมหาวิทยาลัย และการอบรมคุณธรรมจริยธรรม
- การเตรียมความพร้อมก่อนเข้าศึกษา
- อาจารย์ประจำหลักสูตรและอาจารย์ผู้สอนประชุมเพื่อพิจารณากิจกรรมเตรียมความพร้อมของนักศึกษาก่อนเข้าศึกษา โดยนักศึกษาต้องเข้าร่วมโครงการอบรมภาษาอังกฤษสำหรับนักศึกษาใหม่ โครงการปรับพื้นฐานความรู้วิชาแกนวิทยาศาสตร์ และโครงการปรับพื้นฐานความรู้ด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์
- จัดกิจกรรมเตรียมความพร้อมด้านการเข้าระบบสารสนเทศของมหาวิทยาลัย เพื่อการลงทะเบียนเรียน ตรวจสอบผลการเรียน ตรวจสอบวิชาเรียน ตรวจสอบชั่วโมงกิจกรรม และการกรอกข้อมูลการเข้าร่วมกิจกรรม (serial key)
- จัดกิจกรรมให้นักศึกษารุ่นพี่จัดกิจกรรมพบปะรุ่นน้อง เพื่อแนะนำสถานที่ต่าง ๆ และการใช้ชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัย
- การควบคุม การดูแล การให้คำปรึกษาวิชาการ และแนะแนว
- อาจารย์ประจำหลักสูตรและอาจารย์ผู้สอนประชุม แต่งตั้งและกำหนดหน้าที่ของอาจารย์ที่ปรึกษาวิชาการ โดยนัดพบนักศึกษาอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง และมีหน้าที่ชี้แจงรายวิชาที่นักศึกษาต้องลงทะเบียนเรียนและปลดล๊อคให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียน
- เมื่อสิ้นสุดปีการศึกษา อาจารย์ประจำหลักสูตรให้นักศึกษาทำแบบประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาต่อระบบอาจารย์ที่ปรึกษาวิชาการ
- อาจารย์ประจำหลักสูตรประเมินกระบวนการการควบคุม ดูแล ให้คำปรึกษาวิชาการและแนะแนวแก่นักศึกษา เพื่อปรับปรุงกระบวนการ และนำไปใช้ในปีการศึกษาถัดไป
- อัตราการคงอยู่
อาจารย์ประจำหลักสูตรและอาจารย์ผู้สอนประชุมวางแผน กำหนดแนวทางปฏิบัติ โดยนักศึกษาทุกชั้นปีต้องเข้าร่วมกิจกรรมวิทยาศาสตร์การแพทย์สัมพันธ์ การศึกษาภาคสนาม และการศึกษาดูงานเพื่อให้อัตราการคงอยู่ของนักศึกษาในแต่ละปีการศึกษามีร้อยละที่สูงขึ้น
- การสำเร็จการศึกษา
อาจารย์ประจำหลักสูตรและอาจารย์ผู้สอนประชุมวางแผนด้านวิชาการและกิจกรรมนักศึกษาเพื่อให้นักศึกษาสำเร็จการศึกษาตามเกณฑ์ที่กำหนด
- ความพึงพอใจและผลการจัดการข้อร้องเรียนของนักศึกษา
1) อาจารย์ประจำหลักสูตรให้นักศึกษาทุกระดับชั้นปีทำแบบประเมินความพึงพอใจและผลการจัดการข้อร้องเรียนของนักศึกษา ผ่านระบบประกันคุณภาพการศึกษาของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
2) อาจารย์ประจำหลักสูตรและอาจารย์ผู้สอนประเมินผลความพึงพอใจของนักศึกษา และวางแผนเพื่อปรับปรุงให้ดียิ่งขึ้น
4. อาจารย์
4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์
4.1.1 การรับอาจารย์ใหม่
- ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรและอาจารย์ผู้สอนเพื่อทำการสำรวจและวิเคราะห์อัตรากำลังระยะเวลา 5 ปี พร้อมทั้งจัดทำแผนกรอบอัตรากำลังเพื่อขอรับอาจารย์เพิ่มเติม
- เสนอที่ประชุมคณะกรรมการประจำคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และคณะ กรรมการอำนวยการมหาวิทยาลัยฯ เพื่อพิจารณา
- คณะกรรมการประจำหลักสูตรกำหนดคุณสมบัติของอาจารย์ที่จะรับใหม่ ให้มีคุณวุฒิตรงกับหลักสูตรวิทยาศาสตร์การแพทย์ และมีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านที่เกี่ยวข้องกับหลักสูตร มีระดับการศึกษาไม่น้อยกว่าปริญญาโท จากนั้นทำประกาศรับสมัคร และคัดเลือกโดยพิจารณาคุณสมบัติ สอบความรู้ทั่วไป สอบความรู้พื้นฐานเฉพาะสาขา และมีคะแนนสอบภาษาอังกฤษตามเกณฑ์มาตราฐานที่ สป.อว. กำหนด และมีคุณสมบัติครบตามระเบียบมหาวิทยาลัย
- อาจารย์ใหม่ที่เข้าปฏิบัติงานจะอยู่ในการดูแลของประธานหลักสูตรโดยทำหน้าที่มอบหมายงาน ให้คำแนะนำ และให้ความรู้เบื้องต้นในการทำงานด้านต่าง ๆ รวมถึงกำหนดให้มีอาจารย์พี่เลี้ยงคอยช่วยเหลือและให้คำปรึกษา อีกทั้งจะได้รับการอบรมเรื่องกฎระเบียบต่าง ๆ และวิธีการปฏิบัติงานที่ดีจากคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัย
- อาจารย์ใหม่ทุกคนมีช่วงทดลองปฏิบัติงาน 6 เดือน และต้องนำเสนอผลงานต่อคณะกรรมการประเมินระดับคณะและมหาวิทยาลัย เพื่อพิจารณาจัดทำสัญญาจ้างต่อไป เมื่อได้รับสัญญาจ้างต่อเป็นอาจารย์ประจำแล้ว ทุกคนจะเข้าสู่เกณฑ์การประเมินตามนโยบายของคณะและภารกิจของมหาวิทยาลัย ประกอบด้วยงาน 4 ด้าน ได้แก่ งานด้านการเรียนการสอน งานด้านวิจัย งานด้านบริการวิชาการแก่สังคม งานด้านทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ซึ่งเป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
4.1.2 การบริหารอาจารย์
- จัดประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรและอาจารย์ผู้สอน เพื่อพิจารณาขอเปิดรายวิชาตามแผนการศึกษาตลอดหลักสูตรวิทยาศาสตร์การแพทย์ และบางรายวิชาที่นักศึกษามีผลการเรียนไม่เป็นไปตามแผนการศึกษาก่อนเปิดภาคเรียน
- จัดทำตารางสอนตามความเชี่ยวชาญของอาจารย์ผู้สอน และแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษาโครงการวิจัยเพื่อกำกับติดตามการวิจัยของนักศึกษาในการดูแล และภาระงานอื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมายจากสาขาวิชา
- อาจารย์ประจำหลักสูตร สนับสนุน ส่งเสริมการทำวิจัยของคณาจารย์ และขอตำแหน่งวิชาการเมื่อถึงระยะเวลาที่กำหนด โดยจัดสรรงบประมาณรวมทั้งแนะนำทุนวิจัยจากแหล่งทุนต่างๆ และโครงการฝึกอบรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัย
- เมื่อถึงกำหนดครึ่งปีงบประมาณให้อาจารย์ผู้สอนจัดทำรายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานเสนอต่อที่ประชุมสาขาวิชาพิจารณา และส่งฝ่ายวิชาการของคณะฯ
4.1.3 การส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์
- อาจารย์ประจำหลักสูตรและอาจารย์ผู้สอนทุกท่านสามารถขออนุญาตเข้ารับการอบรม สัมมนา หรือศึกษาดูงาน ตามความประสงค์ ทั้งนี้ต้องเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาศักยภาพด้านวิชาการของอาจารย์หรือเป็นประโยชน์ต่อการเรียนการสอน
- สาขาวิชาจัดสรรงบประมาณเพื่อส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพอาจารย์ พร้อมทั้งมีการประชาสัมพันธ์กิจกรรม การอบรม การสัมมนาต่าง ๆ ที่มีประโยชน์ต่อการพัฒนาอาจารย์อย่างทั่วถึง
- จัดให้มีการประเมินความพึงพอใจของอาจารย์ต่อการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ เพื่อพิจารณาและวางแผน ปรับปรุงกระบวนการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ในปีการศึกษาต่อไป
4.2 คุณภาพอาจารย์
4.2.1 ร้อยละของอาจารย์ประจำหลักสูตรที่มีวุฒิปริญญาเอก
อาจารย์ประจำหลักสูตรที่มีวุฒิปริญญาเอกคิดเป็นร้อยละ 20 ขึ้นไป
4.2.2 ร้อยละของอาจารย์ประจำหลักสูตรที่มีตำแหน่งวิชาการ (ผศ., รศ., ศ.)
อาจารย์ประจำหลักสูตรที่มีตำแหน่งวิชาการ (ผศ., รศ., ศ.) คิดเป็นร้อยละ 60 ขึ้นไป
4.2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำหลักสูตร
1) อาจารย์ประจำหลักสูตรและอาจารย์ผู้สอนประชุมร่วมกัน เพื่อวางแนวทางการทำงานวิจัยและผลิตผลงานทางวิชาการอย่างต่อเนื่อง
2) กำหนดให้มีผลงานวิชาการ อาทิ บทความวิจัยหรือบทความวิชาการที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการที่ปรากฏในฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 1, 2 หรือวารสารวิชาการระดับนานาชาติตามประกาศของ ก.พ.อ. ผลงานที่ได้รับการจดสิทธิบัตร ผลงานวิจัยที่หน่วยงานหรือองค์กรระดับชาติว่าจ้างให้ดำเนินการ ตำรา หนังสือ งานแปล ที่ได้รับการประเมินผ่านเกณฑ์การขอตำแหน่งทางวิชาการแล้ว รวมถึงตำรา หนังสือ งานแปล ที่ได้รับการประเมินผ่านเกณฑ์การขอตำแหน่งทางวิชาการ แต่ไม่ได้นำมาขอรับการประเมินตำแหน่งทางวิชาการ
5. หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน
5.1 รายวิชาในหลักสูตร
5.1.1 การออกแบบหลักสูตร
- อาจารย์ประจำหลักสูตรประชุมเพื่อเสนอข้อคิดเห็นเกี่ยวกับการออกแบบและปรับปรุงหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์ อย่างน้อยทุก 5 ปีการศึกษา
- มีการแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรที่อนุมัติโดยมหาวิทยาลัยและดำเนินการพัฒนา/ปรับปรุงหลักสูตรให้เป็นไปตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาที่มุ่งเน้นในทักษะการปฏิบัติ สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น และมีทักษะด้านภาษาและการคำนวณ หลักสูตรที่ปรับปรุงผ่านการวิพากษ์หลักสูตรโดยผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์ คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร เสนอร่าง มคอ.2 ต่อคณะกรรมการวิชาการประจำคณะ ถ้าผ่านการพิจารณาให้เสนอต่อสภาวิชาการมหาวิทยาลัยและเสนอต่อสภามหาวิทยาลัยอนุมัติหลักสูตร แล้วสุดท้ายเสนอต่อ สป.อว. เพื่อพิจารณารับทราบการให้ความเห็นชอบการปรับปรุงพัฒนาหลักสูตร
- รายวิชาที่เปิดสอนตาม มคอ.2 จะต้องจัดทำ มคอ.3 และ มคอ.5 ให้เป็นไปตามกรอบมาตรฐานการเรียนรู้ของ สป.อว. โดยมีการกำหนดส่งเอกสารดังกล่าวตามปฏิทินวิชาการที่ฝ่ายวิชาการของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และภายหลังจากสิ้นสุดการเรียนการสอนให้มีการจัดทำทวนสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามมาตรฐานผลการเรียนรู้รายวิชา และนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ร่วมกับรายงานผลการดำเนินการรายวิชา (มคอ.5) เพื่อจัดทำรายงานผลการดำเนินงานของหลักสูตร (มคอ.7) ภายหลังจากสิ้นสุดปีการศึกษา
5.1.2 การปรับหลักสูตรให้ทันสมัยตามความก้าวหน้าในศาสตร์วิทยาศาสตร์การแพทย์
การเปิดรายวิชาใหม่ในหลักสูตรโดยพิจารณาคุณสมบัติของอาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาที่เหมาะสมกับรายวิชาใหม่ที่เปิดสอน โดยมีการจัดทำรายละเอียดรายวิชา (มคอ.3) ก่อนเปิดภาคเรียน การประเมินผลการสอนและประเมินผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ของนักศึกษาและรายงานผลการดำเนินงานรายวิชา (มคอ.5) หลังการเรียนการสอนเสร็จสิ้น
5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน
5.2.1 การพิจารณากำหนดผู้สอน
การกำหนดอาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา ให้พิจารณาจากคุณวุฒิและประสบการณ์เป็นหลัก โดยเน้นให้นักศึกษาได้เรียนจากผู้สอนที่มีความชำนาญหลากหลาย ดังนั้นรายวิชาส่วนใหญ่จะใช้การสอนร่วมกันระหว่างคณาจารย์ภายในสาขาวิชา เพื่อให้นักศึกษาได้รับมุมมองและความคิดจากและประสบการณ์จากผู้สอน ผลการประเมินผู้สอนจากนักศึกษาเป็นปัจจัยหนึ่งที่ใช้พิจารณาประกอบการกำหนดผู้สอน รวมถึงการพิจารณาภาระงานสอนของอาจารย์แต่ละท่านประกอบกันด้วย
5.2.2 การกำกับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทำ มคอ.3 และ มคอ.4
กำหนดวันส่งรายละเอียดรายวิชา (มคอ.3) และตรวจสอบความครบถ้วนของรายละเอียดรายวิชา (มคอ.3) ให้เป็นไปรายละเอียดหลักสูตร (มคอ.2) มีการติดตามผลการเรียนการสอนตาม มคอ.3 โดยให้อาจารย์รับผิดชอบรายวิชารายงานผลการดำเนินงานรายวิชาเมื่อสิ้นสุดภาคการศึกษา กรณีของรายละเอียดรายวิชาการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ (มคอ.4) ให้ดำเนินการเช่นเดียวกันกับการทำ มคอ.3 กำหนดให้มีผู้ที่ทำหน้าที่ ติดตาม และรวบรวม จัดส่งฝ่ายวิชาการของคณะ และจัดเก็บสำเนา มคอ.3
5.2.3 การกำกับกระบวนการเรียนการสอน
อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาดำเนินการจัดการเรียนการสอน โดยมีการจัดทำมคอ.3 มคอ.5 วิธีการสอน การประเมินโดยผู้เรียน กิจกรรมเสริมศักยภาพนักศึกษาด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ และการจัดทำรายงานการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ของหลักสูตร กำหนดให้ทุกรายวิชาเน้นทักษะการปฏิบัติ มีการประเมินผลการเรียนโดยอาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและตรวจสอบผลการประเมินอีกครั้งโดยประธานสาขาวิชาก่อนส่งผลการเรียนไปยังคณะ มีการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาต่อกระบวนการเรียนการสอน เพื่อใช้ในการปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนครั้งต่อไป
5.2.4 การจัดการเรียนการสอนที่มีการฝึกปฏิบัติในระดับปริญญาตรี
รายวิชาของหลักสูตรวิทยาศาสตร์การแพทย์ มากกว่าร้อยละ 80 ของรายวิชาทั้งหมด เป็นวิชาที่มีชั่วโมงทฤษฎีและปฏิบัติร่วมกันแบ่งเป็นชั่วโมงทฤษฎี 2 คาบและชั่วโมงปฏิบัติ 2 คาบ รวม 1 รายวิชาประกอบด้วย 4 คาบเรียน โดยหนึ่งคาบเรียนเท่ากับ 1 ชั่วโมง การจัดรายวิชาลงห้องเรียนและห้องปฏิบัติการจะใช้วิธีการพิจารณาจากลักษณะรายวิชา นอกจากนี้หลักสูตรกำหนดให้ทุกปีการศึกษาต้องนำนักศึกษาไปศึกษาดูงานในหน่วยงานภาครัฐหรือเอกชน การศึกษาในภาคสนาม รวมทั้งการร่วมกันของนักศึกษาทุกชั้นปีทำโครงงานด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ และเมื่อสิ้นสุดภาคการศึกษานักศึกษาจะทำแบบประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการจัดการเรียนการสอนที่มีการฝึกปฏิบัติ และประเมินผลโครงการศึกษาดูงานและการศึกษาภาคสนาม เพื่อนำผลการประเมินดังกล่าวมาใช้ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนที่มีการฝึกปฏิบัติและปรับปรุงการไปศึกษาดูงานและศึกษาภาคสนามของสาขาวิชา
5.2.5 การบูรณาการพันธกิจต่าง ๆ กับการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรี
กำหนดให้อาจารย์ผู้สอนนำงานวิจัยบูรณาการผลการวิจัยเข้ากับการเรียนการสอนในรายวิชาที่ได้รับมอบหมาย และการเพิ่มเนื้อหาที่เกี่ยวกับการนำกระบวนการวิจัยมาใช้ในรายวิชาต่าง ๆ การแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษาโครงการวิจัยต้องสอดคล้องกับประเด็นปัญหาหรือหัวข้อวิจัยที่นักศึกษาสนใจ
5.3 การประเมินผู้เรียน
5.3.1 การประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ
อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาของแต่ละวิชาที่เปิดสอนในแต่ละปีการศึกษา ให้จัดทำ มคอ.3 ที่มีการกำหนดเกณฑ์การประเมินและเครื่องมือวัดผลที่ชัดเจน วิธีการให้เกรดสะท้อนผลการเรียนรู้อย่างเหมาะสม และให้สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ที่กำหนดใน curriculum mapping จากนั้นจึงดำเนินการเรียนการสอนโดยใช้วิธีการประเมินผลการเรียนรู้ดังกล่าวตามที่ปรากฏใน มคอ.3 ครั้งแรกของการเรียนการสอนให้อาจารย์ผู้สอนเปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการกำหนดเกณฑ์การประเมินตนเอง โดยการประเมินการสอนจะแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ การสอบเก็บคะแนนระหว่างภาคเรียน และการสอบปลายภาค ภายหลังจากสิ้นสุดการเรียนการสอนผู้สอนส่งผลการเรียนให้กับประธานสาขาร่วมตรวจสอบและลงนาม ก่อนส่งให้คณะและสำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียนตามลำดับ
5.3.2 การตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
- การตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษาแต่ละรายวิชาที่เปิดสอนเป็นการตรวจสอบจากรายละเอียดที่ระบุไว้ใน มคอ.3 ว่าการประเมินผลการเรียนรู้นั้นสามารถสะท้อนทักษะการเรียนรู้ของนักศึกษาได้จริงหรือไม่ หากมีการปรับปรุงแก้ไขอาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาจะดำเนินแก้ไขใน มคอ.3 ทุกรายวิชาจัดให้มีการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษาในรูปแบบการให้ทำแบบฝึกหัด การสอบย่อย และการทำแบบประเมินการฝึกปฏิบัติการ ตามความเหมาะสมของรายวิชานั้น ๆ
- เมื่อสิ้นสุดภาคการศึกษาอาจารย์ผู้สอนนำผลการเรียนแต่ละรายวิชาเสนอต่อที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตร รวมทั้งรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา มคอ.5 เมื่อได้รับอนุมัติแล้ว จึงส่งผลการเรียนเข้าไปในระบบบริการการศึกษา เพื่อประกาศผลการเรียนให้ผู้เรียนและอาจารย์ที่ปรึกษาได้รับทราบ การส่งผลการเรียนไปยังคณะจะกำหนดให้มีผู้รับผดชอบในการเก็บรวบรวม และตรวจสอบความถูกต้องโดยประธานสาขาวิชา
5.3.3 การกำกับการประเมินการจัดการเรียนการสอนและประเมินหลักสูตร (มคอ.5 มคอ.6 และมคอ.7)
อาจารย์ผู้รับผิดชอบแต่ละรายวิชา ทำหน้าที่ติดตามและกำกับประเมินการจัดการเรียนการสอนของทุกรายวิชาที่เปิดสอน เพื่อจัดทำ มคอ.5 และมคอ.6 ให้เนื้อหาสอดคล้องและเป็นไปในทิศทางเดียวกันกับ มคอ.2 มคอ.3 และ มคอ.4 ในส่วนของรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตร หรือ มคอ.7 มีการแต่งตั้งคณะกรรมการจัดทำรายงาน รวมถึงแต่งตั้งผู้รับผิดชอบหลักเพื่อรวบรวมเป็นรูปเล่มรายงานและส่งให้แก่ฝ่ายวิชาการของคณะ และมหาวิทยาลัยตามลำดับ
6. สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
6.1 ระบบการดำเนินงานของภาควิชา/คณะ/สถาบัน โดยมีส่วนร่วมของอาจารย์ประจำหลักสูตรเพื่อให้มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
- กำหนดผู้รับผิดชอบดูแลสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ โดยมีหน้าที่สำรวจความต้องการสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ของนักศึกษาและอาจารย์ ผ่านการประเมินความพึงพอใจอาจารย์และนักศึกษาต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ที่สาขาวิชาจัดสรรให้ เพื่อนำข้อมูลมาจัดทำงบประมาณจัดหาอุปกรณ์ เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ และทรัพยากรสารสนเทศต่าง ๆ
- การดำเนินงานของสาขาวิชาเน้นการมีส่วนร่วมของอาจารย์และนักศึกษาเพื่อให้มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ทุกครั้งที่ต้องตั้งงบประมาณในการจัดหาครุภัณฑ์จะมีการสำรวจความต้องการของผู้ใช้งาน แล้วนำผลการสำรวจเข้าที่ประชุมสาขาวิชาเพื่อสรุปและจัดลำดับความต้องการ และเสนอขออนุมัติจากมหาวิทยาลัย
6.2 จำนวนสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ที่เพียงพอและเหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน
จำนวนสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้มีเพียงพอและเหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอนและการวิจัยในด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ สาขาวิชามีความพร้อมด้านต่าง ๆ ดังนี้
1) ความพร้อมด้านกายภาพ ประกอบด้วย ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการพื้นฐาน ห้องทำวิจัยทาง จุลชีววิทยา ห้องทำวิจัยทางเทคโนโลยีดีเอ็นเอ ห้องทำวิจัยทางเคมีและวัสดุทางการแพทย์ ห้องเก็บสารเคมี ห้องเก็บอุปกรณ์ ห้องพักนักศึกษา และห้องคลังเชื้อจุลินทรีย์โดยมีอาจารย์ที่ได้รับมอบหมายเป็นผู้ควบคุมดูแลโดยตรง
2) ความพร้อมด้านอุปกรณ์ ประกอบด้วย อุปกรณ์และเครื่องมือที่ใช้ในการเรียนการสอนและงานวิจัย ซึ่งเป็นเครื่องมือที่มีความทันสมัยประสิทธิภาพสูง ทำให้นักศึกษามีความรู้ความเชี่ยวชาญในการใช้เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์
3) ความพร้อมด้านเทคโนโลยีและการให้บริการ เช่น คอมพิวเตอร์ และระบบเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตแบบไร้สาย (WIFI) มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา โดยมีจุดบริการทั่วถึงครอบคลุมทุกตำแหน่งในสาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์ นอกจากนี้มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยาได้ร่วมกับสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) ในการให้บริการฐานข้อมูลวารสารออนไลน์ให้สามารถสืบค้นข้อมูลได้ตลอดเวลาผ่าน IP address ของมหาวิทยาลัย
6.3 กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
ประเมินความพึงพอใจของอาจารย์และนักศึกษาต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ที่สาขาวิชาจัดสรรให้ โดยประเมินความพึงพอใจสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ด้านต่าง ๆ ทั้งความพร้อมด้านกายภาพ ความพร้อมด้านอุปกรณ์ เครื่องมือและสารเคมี ความพร้อมด้านการให้บริการเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อนำไปสู่การปรับปรุงตามผลการประเมินความพึงพอใจต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
7. ตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators)
ตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงาน | ปีที่ 1 | ปีที่ 2 | ปีที่ 3 | ปีที่ 4 | ปีที่ 5 |
---|---|---|---|---|---|
(1) อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 80 มีส่วนร่วม ในการประชุมเพื่อวางแผนติดตามและทบทวนการดำเนินงาน หลักสูตร | ✔ | ✔ | ✔ | ✔ | ✔ |
(2) มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ.2 สอดคล้องตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ | ✔ | ✔ | ✔ | ✔ | ✔ |
(3) มีรายละเอียดของรายวิชาและรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนามตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อย่างน้อยก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวิชา | ✔ | ✔ | ✔ | ✔ | ✔ |
(4) จัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชาและรายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนามตามแบบ มคอ.5 และมคอ.6 ภายใน 30 วันหลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิดสอนให้ครบทุกรายวิชา | ✔ | ✔ | ✔ | ✔ | ✔ |
(5) จัดทำรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตรตามแบบ มคอ.7ภายใน 60 วันหลังสิ้นสุดปีการศึกษา | ✔ | ✔ | ✔ | ✔ | ✔ |
(6) มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนิสิต/นักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ที่กำหนดใน มคอ.3 และ มคอ.4 อย่างน้อยร้อยละ 25 ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละปีการศึกษา | ✔ | ✔ | ✔ | ✔ | ✔ |
(7) มีการพัฒนา/ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนกลยุทธ์การสอนหรือการประเมินผลการเรียนรู้จากผลการประเมินการดำเนินงานที่รายงานใน มคอ.7 ปีที่แล้ว | ✔ | ✔ | ✔ | ✔ | |
(8) คณาจารย์ใหม่ (ถ้ามี) ทุกคนได้รับการปฐมนิเทศหรือคำแนะนำด้านการจัดการเรียนการสอน | ✔ | ✔ | ✔ | ✔ | ✔ |
(9) คณาจารย์ประจำทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการและ/หรือวิชาชีพอย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง | ✔ | ✔ | ✔ | ✔ | ✔ |
(10) จำนวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน (ถ้ามี) ได้รับการพัฒนาวิชาการ และ/หรือวิชาชีพไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ต่อปี | ✔ | ✔ | ✔ | ✔ | ✔ |
(11) ระดับความพึงพอใจของนิสิต/นักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตรเฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5.0 | ✔ | ✔ | |||
(12) ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5.0 | ✔ |
หมวดที่ 8 การประเมินและปรับปรุงหลักสูตร
1. การประเมินและประสิทธิผลของการสอน
1.1 การประเมินกลยุทธ์การสอน
1.1.1 การสังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอนของนักศึกษาแต่ละคน โดยผู้สอนสรุปปัญหาที่เกิดขึ้นหลังจากการสอนแต่ละสัปดาห์เพื่อปรับปรุงกลยุทธ์การสอนในครั้งต่อไป นอกจากนี้ควรหมั่นสอบถามความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาที่เรียนจากนักศึกษาโดยตรง
1.1.2 มีการประชุมคณาจารย์ในสาขาวิชาเพื่อแลกเปลี่ยนกลยุทธ์ในการสอนที่ทันสมัยอยู่เสมอ ตลอดจนแลกเปลี่ยนแนวคิดในการแก้ปัญหาเรื่องการเรียนรู้ของนักศึกษาในแต่ละรายวิชา
1.1.3 มีการประเมินกลยุทธ์การสอนโดยผู้เรียนและคณะกรรมการประเมินหลักสูตรในรายวิชาที่เปิดสอนของแต่ละภาคการศึกษา จากนั้นอาจารย์ประจำหลักสูตรนำผลการประเมินมาร่วมพิจารณาปรับปรุงการเรียนการสอนในหลักสูตรต่อไป
1.2 การประเมินทักษะของอาจารย์ในการใช้แผนกลยุทธ์การสอน
1.2.1 ประเมินจากนักศึกษาโดยใช้แบบสอบถามเกี่ยวกับการสอนของอาจารย์ เช่น การชี้แจงเป้าหมายการเรียนการสอน วัตถุประสงค์ของรายวิชา การตรงต่อเวลา วิธีการสอน เกณฑ์การวัดผลและประเมินผล โดยนักศึกษาประเมินผลการสอนปีการศึกษาละ 2 ครั้งเมื่อสิ้นสุดการสอนในรายวิชา
1.2.2 ประเมินจากผลงานที่นักศึกษาสร้างขึ้นทั้งผลงานกลุ่มและผลงานแต่ละคน
1.2.3 ประเมินจากการใช้ความคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และการประยุกต์ใช้ความรู้ที่เรียนของนักศึกษาในแต่ละกิจกรรมการเรียนการสอน
1.2.4 ประเมินจากคะแนนการทำแบบทดสอบก่อนและหลังการสอนของนักศึกษา
2. การประเมินหลักสูตรในภาพรวม
2.1 มีการประเมินหลักสูตรในภาพรวมโดยอาจารย์ประจำหลักสูตรเปิดรับฟังความคิดเห็นในประเด็นต่างๆ ทั้งด้านบวกและด้านลบของหลักสูตรจากตัวแทนนักศึกษา ผู้ปกครอง และศิษย์เก่า จากนั้นคณะกรรมการบริหารหลักสูตรนำผลมาวิเคราะห์เพื่อพัฒนาหลักสูตรต่อไป
2.2 มีการประชุมรับฟังข้อคิดเห็นหรือปัญหาต่างๆ เกี่ยวกับหลักสูตรในภาพรวมโดยผู้แทนนักศึกษากับผู้แทนอาจารย์อย่างสม่ำเสมอไม่น้อยกว่าภาคเรียนละ 1 ครั้ง
2.3 มีการประเมินหลักสูตรโดยผู้ทรงคุณวุฒิ หรือผู้ประเมินจากภายนอก และผู้ใช้บัณฑิตตามโอกาสที่เหมาะสม อาจใช้วิธีการสัมภาษณ์ การออกแบบสอบถามเพื่อเป็นข้อมูลย้อนกลับมาประเมินหลักสูตรในภาพรวมของการผลิตบัณฑิตสาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์
3. การประเมินผลการดำเนินงานตามรายละเอียดหลักสูตร
มีการประเมินคุณภาพผลการดำเนินงานประจำปีการศึกษา ตามดัชนีตัวประเมินผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในหมวดที่ 7 ข้อ 7 โดยอาจารย์ประจำหลักสูตรและคณะกรรมการประเมินคุณภาพหลักสูตร
4. การทบทวนผลการประเมินและวางแผนปรับปรุง
4.1 คณะกรรมการทบทวนผลการประเมินหลักสูตรประเมินหลักสูตรนำข้อมูลจากการรายงานผลประเมินการดำเนินการแต่ละรายวิชาเสนออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรเพื่อวางแผนปรับปรุงหลักสูตรต่อไป
4.2 อาจารย์ประจำวิชาทบทวนผลการประเมินภายหลังเสร็จสิ้นการเรียนการสอนและนำไปปรับปรุงภายหลังการประเมิน
4.3 มีการประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรและอาจารย์ที่เกี่ยวข้องเพื่อพิจารณาทบทวนผลการดำเนินงานของหลักสูตรและวางแผนการปรับปรุงหลักสูตรร่วมกัน
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก
ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
ภาคผนวก ข
คำอธิบายรหัสวิชา ประกาศการกำหนดรหัสประจำวิชา
ภาคผนวก ค
ประวัติและผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ชื่อ-สกุล นางสาวรัชนู เมยดง
ตำแหน่งทางวิชาการ อาจารย์
สังกัด สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
ประวัติการศึกษา
พ.ศ. 2560 ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (จุลชีววิทยา)
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
พ.ศ. 2553 วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (จุลชีววิทยา)
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
พ.ศ. 2549 วิทยาศาสตรบัณฑิต (จุลชีววิทยา)
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
สาขาที่เชี่ยวชาญ แบคทีเรียโพรไบโอติก สารเมแทบอไลต์ของแบคทีเรีย
ผลงานทางวิชาการ
บทความวิจัย
รัชนู เมยดง เสาวนิต ทองพิมพ์ จรัญ ประจันบาล รัตน์สุภา ธรรมาภรณ์ เกษม คงนิรันดรสุข ปิลันธนา เลิศสถิตธนกร และศิริพร ทิพย์สิงห์. (2564). กิจกรรมการต้านจุลินทรีย์ก่อโรคและการยับยั้งการสร้างไบโอฟิล์มของสารสกัดจากเปลือกลำต้นกัญชง. วารสารหน่วยวิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้, 12(1), 99-110.
รัชนู เมยดง และเสาวนิต ทองพิมพ์. (2562). การศึกษาคุณสมบัติโพรไบโอติกส์ของ Lactobacillus plantarum BL60a ที่แยกจากอาหารหมักเพื่อประยุกต์ใช้ในอาหารเพื่อสุขภาพ. Veridian E-Journal, Science and Technology Silpakorn University, 6(4), 81-96.
ศิริพร ทิพย์สิงห์ สถิตย์ พันวิไล จรัญ ประจันบาล และรัชนู เมยดง. (2562). ประสิทธิภาพของ Bacillus spp. จากดินจอมปลวกในการต้านรา Pestalotiopsis sp. สาเหตุของโรคผลเน่าในฝรั่ง. Veridian E-Journal, Science and Technology Silpakorn University, 6(2), 1-14.
ศิริพร ทิพย์สิงห์ เสาวนิต ทองพิมพ์ และรัชนู เมยดง. (2562). การคัดเลือกบาซิลลัสที่ผลิตแบคเทอริโอซินต้านเชื้อก่อโรคปลาจากอาหารหมักและการศึกษาคุณสมบัติเบื้องต้นของแบคเทอริโอซิน. วารสารหน่วยวิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้, 10(1), 1-13.
Meidong, R., Nakao, M., Sakai, K., and Tongpim, S. (2021). Lactobacillus paraplantarum L34b-2 derived from fermented food improves the growth, disease resistance and innate immunity in Pangasius bocourti. Aquaculture, 735-878.
Meidong, R., Khotchanalekha, K., Doolgindachbaporn, S., Nagasawa, T., Nakao, M., Sakai, K., and Tongpim, S. (2018). Evaluation of probiotic Bacillus aerius B81e isolated from healthy hybrid catfish on growth, disease resistance and innate immunity of Pla Mong, Pangasius bocourti. Fish and Shellfish Immunology, 73, 1–10.
ประสบการณ์การสอน
1) วิชาจุลชีววิทยา
2) วิชาปฏิบัติการจุลชีววิทยา
3) วิชาจุลชีววิทยาทางสิ่งแวดล้อม
4) วิชาการใช้เครื่องมือทางจุลชีววิทยา
5) วิชาภาษาอังกฤษสำหรับจุลชีววิทยา 1
6) วิชาภาษาอังกฤษสำหรับจุลชีววิทยา 2
7) วิชาภาษาอังกฤษสำหรับจุลชีววิทยา 3
8) วิชาโครงการวิจัยทางจุลชีววิทยา 1
9) วิชาโครงการวิจัยทางจุลชีววิทยา 2
10) วิชาความปลอดภัยทางชีวภาพในห้องปฏิบัติการทางจุลชีววิทยา
11) วิชาระบบการควบคุมคุณภาพและประกันคุณภาพด้านจุลชีววิทยา
12) วิชาสัมมนาทางจุลชีววิทยา
13) วิชานวัตกรรมผลิตภัณฑ์จุลินทรีย์
14) วิชาการฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางจุลชีววิทยา
15) วิชาจุลชีววิทยาทางอาหาร
16) วิชาจุลชีววิทยาของผลิตภัณฑ์นม
ภาระงานสอนที่จะมีในหลักสูตรนี้
- วิชากายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของมนุษย์
- วิชาการเพาะเลี้ยงและการใช้จุลินทรีย์ก่อโรค
- วิชาความชราภาพทางชีววิทยาและเวชศาสตร์ฟื้นฟูชะลอวัย
- วิชาพฤกษเคมีและผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ
- วิชาจุลชีววิทยา
- วิชาปฏิบัติการเครื่องมือวิทยาศาสตร์และการจัดการห้องปฏิบัติการ
- วิชานิติวิทยาศาสตร์
- วิชาระเบียบวิธีวิจัย กฎหมาย จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์และสัตว์ทดลอง
- วิชาสัมมนาทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาโครงการวิจัยทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาการฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาเตรียมสหกิจศึกษาทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาสหกิจศึกษาทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
ชื่อ-สกุล นางสาวรัตน์สุภา ธรรมาภรณ์
ตำแหน่งทางวิชาการ อาจารย์
สังกัด สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
ประวัติการศึกษา
พ.ศ. 2559 ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (เคมี)
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
พ.ศ. 2552 วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เคมี)
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
พ.ศ. 2549 วิทยาศาสตรบัณฑิต (เคมี)
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สาขาที่เชี่ยวชาญ เคมีเชิงฟิสิกส์ การค้นหาสารที่มีฤทธิ์เป็นยาด้วยเคมีคอมพิวเตอร์
เทคนิคทางชีวฟิสิกส์
ผลงานทางวิชาการ
บทความวิจัย
รัชนู เมยดง เสาวนิต ทองพิมพ์ จรัญ ประจันบาล รัตน์สุภา ธรรมาภรณ์ เกษม คงนิรันดรสุข ปิลันธนา เลิศสถิตธนกร และศิริพร ทิพย์สิงห์. (2564). กิจกรรมการต้านจุลินทรีย์ก่อโรคและการยับยั้งการสร้างไบโอฟิล์มของสารสกัดจากเปลือกลำต้นกัญชง. วารสารหน่วยวิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้, 12(1), 99-110.
ประสบการณ์การสอน
1) วิชาเคมีทั่วไป
2) วิชาเคมีทั่วไปสำหรับอุตสาหกรรม
3) วิชาการวิเคราะห์เชิงปริมาณและคุณภาพ
4) วิชาปฏิบัติการการวิเคราะห์เชิงปริมาณและคุณภาพ
5) วิชาเคมีเชิงฟิสิกส์สำหรับอุตสาหกรรม
6) วิชาปฏิบัติการเคมีเชิงฟิสิกส์สำหรับอุตสาหกรรม
7) วิชาชีวเคมีและเคมีชีวอนินทรีย์สำหรับอุตสาหกรรม
8) วิชาเคมีอินทรีย์สำหรับอุตสาหกรรม
9) วิชาปฏิบัติการเคมีอินทรีย์สำหรับอุตสาหกรรม
10) วิชาหลักการและเทคนิคการวิเคราะห์เชิงเครื่องมือ 1
11) วิชาหลักการและเทคนิคการวิเคราะห์เชิงเครื่องมือ 2
12) วิชาภาษาอังกฤษสำหรับเคมีอุตสาหกรรม
13) วิชาสถิติเพื่อการวิจัย
14) วิชาสัมมนาทางเคมีอุตสาหกรรม
15) วิชาโครงการวิจัยทางเคมีอุตสาหกรรม 1
16) วิชาโครงการวิจัยทางเคมีอุตสาหกรรม 2
17) วิชาการฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางเคมีอุตสาหกรรม
ภาระงานสอนที่จะมีในหลักสูตรนี้
- วิชาเคมีสำหรับวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาเคมีวิเคราะห์สำหรับวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาชีวเคมีสำหรับวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาเทคนิคการวิเคราะห์เชิงเครื่องมือ
- วิชาการออกแบบโมเลกุลยา
- วิชาภาษาอังกฤษสำหรับวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาปฏิบัติการเครื่องมือวิทยาศาสตร์และการจัดการห้องปฏิบัติการ
- วิชานิติวิทยาศาสตร์
- วิชาระเบียบวิธีวิจัย กฎหมาย จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์และสัตว์ทดลอง
- วิชาสัมมนาทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาโครงการวิจัยทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาการฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาเตรียมสหกิจศึกษาทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาสหกิจศึกษาทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
ชื่อ-สกุล นางสาวศิริพร ทิพย์สิงห์
ตำแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ (จุลชีววิทยา)
สังกัด สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
ประวัติการศึกษา
พ.ศ. 2545 การศึกษามหาบัณฑิต (วิทยาศาสตร์ศึกษา-ชีววิทยา)
มหาวิทยาลัยศรีครินทรวิโรฒ ประสานมิตร
พ.ศ. 2539 ครุศาสตรบัณฑิต (ชีววิทยา)
สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
สาขาที่เชี่ยวชาญ การสอนชีววิทยา จุลชีววิทยา
ผลงานทางวิชาการ
บทความวิจัย
รัชนู เมยดง เสาวนิต ทองพิมพ์ จรัญ ประจันบาล รัตน์สุภา ธรรมาภรณ์ เกษม คงนิรันดรสุข ปิลันธนา เลิศสถิตธนกร และศิริพร ทิพย์สิงห์. (2564). กิจกรรมการต้านจุลินทรีย์ก่อโรคและการยับยั้งการสร้างไบโอฟิล์มของสารสกัดจากเปลือกลำต้นกัญชง. วารสารหน่วยวิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้, 12(1), 99-110.
ศิริพร ทิพย์สิงห์ สถิตย์ พันวิไล จรัญ ประจันบาล และรัชนู เมยดง. (2562). ประสิทธิภาพของ Bacillus spp. จากดินจอมปลวกในการต้านรา Pestalotiopsis sp. สาเหตุของโรคผลเน่าในฝรั่ง. Veridian E-Journal, Science and Technology Silpakorn University, 6(2), 1-14.
ศิริพร ทิพย์สิงห์ เสาวนิต ทองพิมพ์ และรัชนู เมยดง. (2562). การคัดเลือกบาซิลลัสที่ผลิตแบคเทอริโอซินต้านเชื้อก่อโรคปลาจากอาหารหมักและการศึกษาคุณสมบัติเบื้องต้นของแบคเทอริโอซิน. วารสารหน่วยวิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้, 10(1), 1-13.
ประสบการณ์ด้านปฏิบัติการ
1) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์โรงเรียนมัธยมสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
2) รองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการโรงเรียนมัธยมสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
3) รองผู้อำนวยการสำนักโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
ประสบการณ์การสอน
1) วิชาจุลชีววิทยา
2) วิชาปฏิบัติการจุลชีววิทยา
3) วิชาวิทยาสาหร่าย
4) วิชาการใช้เครื่องมือทางจุลชีววิทยา
5) วิชาโครงการวิจัยทางจุลชีววิทยา 1
6) วิชาโครงการวิจัยทางจุลชีววิทยา 2
7) วิชาความปลอดภัยทางชีวภาพในห้องปฏิบัติการทางจุลชีววิทยา
8) วิชาระบบการควบคุมคุณภาพและประกันคุณภาพด้านจุลชีววิทยา
9) วิชาสัมมนาทางจุลชีววิทยา
10) วิชานวัตกรรมผลิตภัณฑ์จุลินทรีย์
ภาระงานสอนที่จะมีในหลักสูตรนี้
- วิชาพยาธิวิทยา
- วิชาจุลชีววิทยา
- วิชาความชราภาพทางชีววิทยาและเวชศาสตร์ฟื้นฟูชะลอวัย
- วิชาปฏิบัติการเครื่องมือวิทยาศาสตร์และการจัดการห้องปฏิบัติการ
- วิชานิติวิทยาศาสตร์
- วิชาระเบียบวิธีวิจัย กฎหมาย จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์และสัตว์ทดลอง
- วิชาสัมมนาทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาโครงการวิจัยทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาการฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาเตรียมสหกิจศึกษาทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาสหกิจศึกษาทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
ชื่อ-สกุล นายจรัญ ประจันบาล
ตำแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ (จุลชีววิทยา)
สังกัด สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
ประวัติการศึกษา
พ.ศ. 2551 วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (จุลชีววิทยา)
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
พ.ศ. 2546 วิทยาศาสตรบัณฑิต (ชีววิทยาประยุกต์)
สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
สาขาที่เชี่ยวชาญ จุลชีววิทยา พฤกษศาสตร์ ความหลากหลายทางชีวภาพของพืชป่า
ผลงานทางวิชาการ
หนังสือ
จรัญ ประจันบาล สถิตย์ พันวิไล และวิชัย ปทุมชาติพัฒน์. (2561). ศรีสรรเพชญ์: พรรณไม้และการจัดการป่าอย่างยั่งยืน. นนทบุรี: วนิดาการพิมพ์.
บทความวิจัย
รัชนู เมยดง เสาวนิต ทองพิมพ์ จรัญ ประจันบาล รัตน์สุภา ธรรมาภรณ์ เกษม คงนิรันดรสุข ปิลันธนา เลิศสถิตธนกร และศิริพร ทิพย์สิงห์. (2564). กิจกรรมการต้านจุลินทรีย์ก่อโรคและการยับยั้งการสร้างไบโอฟิล์มของสารสกัดจากเปลือกลำต้นกัญชง. วารสารหน่วยวิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้, 12(1), 99-110.
อรุณ ชาญชัยเชาว์วิวัฒน์ สถิตย์ พันวิไล จรัญ ประจันบาล และสมเกียรติ พรพิสุทธิมาศ. (2563). จุลินทรีย์ก่อโรคทางเดินอาหารที่สำคัญ. วารสารหน่วยวิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้, 11(1), 188-206.
สถิตย์ พันวิไล จรัญ ประจันบาล และวิชัย ปทุมชาติพัฒน์. (2562). ลักษณะเชิงปริมาณของพืชถิ่นเดียวและสถานการณ์ของชนิดพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในป่าชุมชนบ้านศรีสรรเพชญ์ อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี. วารสารหน่วยวิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้, 10(2), 272-287.
ศิริพร ทิพย์สิงห์ สถิตย์ พันวิไล จรัญ ประจันบาล และรัชนู เมยดง. (2562). ประสิทธิภาพของ Bacillus spp. จากดินจอมปลวกในการต้านรา Pestalotiopsis sp. สาเหตุของโรคผลเน่าในฝรั่ง. Veridian E-Journal, Science and Technology Silpakorn University, 6(2), 1-14.
Panyachanakul, T., Lomthong, T., Lorliam, W., Prajanbarn, J., Tokuyama, S., Vichien Kitpreechavanich, V., and Krajangsang, S. (2020). New insight into thermo-solvent tolerant lipase produced by Streptomyces sp. A3301 for re-polymerization of poly (DL-lactic acid). Polymer, 204, 122812.
ประสบการณ์การสอน
1) วิชาจุลชีววิทยา
2) วิชาปฏิบัติการจุลชีววิทยา
3) วิชาการใช้เครื่องมือทางจุลชีววิทยา
4) วิชาความปลอดภัยทางชีวภาพในห้องปฏิบัติการทางจุลชีววิทยา
5) วิชาระบบการควบคุมคุณภาพและประกันคุณภาพด้านจุลชีววิทยา
6) วิชาโครงการวิจัยทางจุลชีววิทยา 2
7) วิชานวัตกรรมผลิตภัณฑ์จุลินทรีย์
8) วิชาการฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางจุลชีววิทยา
9) วิชาวิทยาแบคทีเรีย
10) วิชาเห็ดราวิทยา
11) วิชาจุลชีววิทยาทางการเกษตร
ภาระงานสอนที่จะมีในหลักสูตรนี้
- วิชากัญชา กัญชง และพืชกระท่อมทางการแพทย์
- วิชาปรสิตวิทยาและกีฏวิทยาทางการแพทย์
- วิชาการตรวจสอบและการสกัดสารสำคัญจากพืชสมุนไพร
- วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการเครื่องมือแพทย์
- วิชาจุลชีววิทยา
- วิชาปฏิบัติการเครื่องมือวิทยาศาสตร์และการจัดการห้องปฏิบัติการ
- วิชานิติวิทยาศาสตร์
- วิชาระเบียบวิธีวิจัย กฎหมาย จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์และสัตว์ทดลอง
- วิชาสัมมนาทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาโครงการวิจัยทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาการฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาเตรียมสหกิจศึกษาทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาสหกิจศึกษาทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
ชื่อ-สกุล นายสถิตย์ พันวิไล
ตำแหน่งทางวิชาการ อาจารย์
สังกัด สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
ประวัติการศึกษา
พ.ศ. 2557 วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (จุลชีววิทยา)
มหาวิทยาลัยมหิดล
พ.ศ. 2547 วิทยาศาสตรบัณฑิต (ชีววิทยาประยุกต์)
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
สาขาที่เชี่ยวชาญ วิทยาไวรัส พันธุวิศวกรรมจุลินทรีย์
ผลงานทางวิชาการ
หนังสือ
จรัญ ประจันบาล สถิตย์ พันวิไล และวิชัย ปทุมชาติพัฒน์. (2561). ศรีสรรเพชญ์: พรรณไม้และการจัดการป่าอย่างยั่งยืน. นนทบุรี: วนิดาการพิมพ์.
บทความวิจัย
รัชนู เมยดง เสาวนิต ทองพิมพ์ จรัญ ประจันบาล รัตน์สุภา ธรรมาภรณ์ เกษม คงนิรันดรสุข ปิลันธนา เลิศสถิตธนกร และศิริพร ทิพย์สิงห์. (2564). กิจกรรมการต้านจุลินทรีย์ก่อโรคและการยับยั้งการสร้างไบโอฟิล์มของสารสกัดจากเปลือกลำต้นกัญชง. วารสารหน่วยวิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้, 12(1), 99-110.
อรุณ ชาญชัยเชาว์วิวัฒน์ สถิตย์ พันวิไล จรัญ ประจันบาล และสมเกียรติ พรพิสุทธิมาศ. (2563). จุลินทรีย์ก่อโรคทางเดินอาหารที่สำคัญ. วารสารหน่วยวิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้, 11(1), 188-206.
สถิตย์ พันวิไล จรัญ ประจันบาล และวิชัย ปทุมชาติพัฒน์. (2562). ลักษณะเชิงปริมาณของพืชถิ่นเดียวและสถานการณ์ของชนิดพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในป่าชุมชนบ้านศรีสรรเพชญ์ อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี. วารสารหน่วยวิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้, 10(2), 272-287.
ศิริพร ทิพย์สิงห์ สถิตย์ พันวิไล จรัญ ประจันบาล และรัชนู เมยดง. (2562). ประสิทธิภาพของ Bacillus spp. จากดินจอมปลวกในการต้านรา Pestalotiopsis sp. สาเหตุของโรคผลเน่าในฝรั่ง. Veridian E-Journal, Science and Technology Silpakorn University, 6(2), 1-14.
Panvilai, S., Napaswad, C., Limthongkul, J., and Akkarawongsapat, R. (2021). Aqueous Extracts of Thai Medicinal Plants Possess anti-HIV-1 Activity. Journal of Herbs, Spices & Medicinal Plants, 27(1), 1-10.
ประสบการณ์การสอน
1) วิชาจุลชีววิทยา
2) วิชาปฏิบัติการจุลชีววิทยา
3) วิชาการใช้เครื่องมือทางจุลชีววิทยา
4) วิชาความปลอดภัยทางชีวภาพในห้องปฏิบัติการทางจุลชีววิทยา
5) วิชาระบบการควบคุมคุณภาพและประกันคุณภาพด้านจุลชีววิทยา
6) วิชาโครงการวิจัยทางจุลชีววิทยา
7) วิชาสัมมนาทางจุลชีววิทยา
8) วิชานวัตกรรมผลิตภัณฑ์จุลินทรีย์
9) วิชาการฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางจุลชีววิทยา
10) วิชาวิทยาไวรัส
11) วิชาวิทยาภูมิคุ้มกัน
ภาระงานสอนที่จะมีในหลักสูตรนี้
- วิชาเนื้อเยื่อวิทยา
- วิชาปฏิบัติการชีววิทยาโมเลกุลทางการแพทย์
- วิชาการตรวจหาตัวบ่งชี้ทางชีวภาพของมะเร็ง
- วิชาภูมิคุ้มกันและเทคโนโลยีการผลิตวัคซีน
- วิชาไวรัสวิทยาทางการแพทย์
- วิชาจุลชีววิทยา
- วิชาปฏิบัติการเครื่องมือวิทยาศาสตร์และการจัดการห้องปฏิบัติการ
- วิชานิติวิทยาศาสตร์
- วิชาระเบียบวิธีวิจัย กฎหมาย จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์และสัตว์ทดลอง
- วิชาสัมมนาทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาโครงการวิจัยทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาการฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาเตรียมสหกิจศึกษาทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาสหกิจศึกษาทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
ภาคผนวก ง
ประวัติและผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำหลักสูตร
ชื่อ-สกุล นางสาวรัชนู เมยดง
ตำแหน่งทางวิชาการ อาจารย์
สังกัด สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
ประวัติการศึกษา
พ.ศ. 2560 ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (จุลชีววิทยา)
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
พ.ศ. 2553 วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (จุลชีววิทยา)
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
พ.ศ. 2549 วิทยาศาสตรบัณฑิต (จุลชีววิทยา)
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
สาขาที่เชี่ยวชาญ แบคทีเรียโพรไบโอติก สารเมแทบอไลต์ของแบคทีเรีย
ผลงานทางวิชาการ
บทความวิจัย
รัชนู เมยดง เสาวนิต ทองพิมพ์ จรัญ ประจันบาล รัตน์สุภา ธรรมาภรณ์ เกษม คงนิรันดรสุข ปิลันธนา เลิศสถิตธนกร และศิริพร ทิพย์สิงห์. (2564). กิจกรรมการต้านจุลินทรีย์ก่อโรคและการยับยั้งการสร้างไบโอฟิล์มของสารสกัดจากเปลือกลำต้นกัญชง. วารสารหน่วยวิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้, 12(1), 99-110.
รัชนู เมยดง และเสาวนิต ทองพิมพ์. (2562). การศึกษาคุณสมบัติโพรไบโอติกส์ของ Lactobacillus plantarum BL60a ที่แยกจากอาหารหมักเพื่อประยุกต์ใช้ในอาหารเพื่อสุขภาพ. Veridian E-Journal, Science and Technology Silpakorn University, 6(4), 81-96.
ศิริพร ทิพย์สิงห์ สถิตย์ พันวิไล จรัญ ประจันบาล และรัชนู เมยดง. (2562). ประสิทธิภาพของ Bacillus spp. จากดินจอมปลวกในการต้านรา Pestalotiopsis sp. สาเหตุของโรคผลเน่าในฝรั่ง. Veridian E-Journal, Science and Technology Silpakorn University, 6(2), 1-14.
ศิริพร ทิพย์สิงห์ เสาวนิต ทองพิมพ์ และรัชนู เมยดง. (2562). การคัดเลือกบาซิลลัสที่ผลิตแบคเทอริโอซินต้านเชื้อก่อโรคปลาจากอาหารหมักและการศึกษาคุณสมบัติเบื้องต้นของแบคเทอริโอซิน. วารสารหน่วยวิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้, 10(1), 1-13.
Meidong, R., Nakao, M., Sakai, K., and Tongpim, S. (2021). Lactobacillus paraplantarum L34b-2 derived from fermented food improves the growth, disease resistance and innate immunity in Pangasius bocourti. Aquaculture, 735-878.
Meidong, R., Khotchanalekha, K., Doolgindachbaporn, S., Nagasawa, T., Nakao, M., Sakai, K., and Tongpim, S. (2018). Evaluation of probiotic Bacillus aerius B81e isolated from healthy hybrid catfish on growth, disease resistance and innate immunity of Pla Mong, Pangasius bocourti. Fish and Shellfish Immunology, 73, 1–10.
ประสบการณ์การสอน
1) วิชาจุลชีววิทยา
2) วิชาปฏิบัติการจุลชีววิทยา
3) วิชาจุลชีววิทยาทางสิ่งแวดล้อม
4) วิชาการใช้เครื่องมือทางจุลชีววิทยา
5) วิชาภาษาอังกฤษสำหรับจุลชีววิทยา 1
6) วิชาภาษาอังกฤษสำหรับจุลชีววิทยา 2
7) วิชาภาษาอังกฤษสำหรับจุลชีววิทยา 3
8) วิชาโครงการวิจัยทางจุลชีววิทยา 1
9) วิชาโครงการวิจัยทางจุลชีววิทยา 2
10) วิชาความปลอดภัยทางชีวภาพในห้องปฏิบัติการทางจุลชีววิทยา
11) วิชาระบบการควบคุมคุณภาพและประกันคุณภาพด้านจุลชีววิทยา
12) วิชาสัมมนาทางจุลชีววิทยา
13) วิชานวัตกรรมผลิตภัณฑ์จุลินทรีย์
14) วิชาการฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางจุลชีววิทยา
15) วิชาจุลชีววิทยาทางอาหาร
16) วิชาจุลชีววิทยาของผลิตภัณฑ์นม
ภาระงานสอนที่จะมีในหลักสูตรนี้
- วิชากายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของมนุษย์
- วิชาการเพาะเลี้ยงและการใช้จุลินทรีย์ก่อโรค
- วิชาความชราภาพทางชีววิทยาและเวชศาสตร์ฟื้นฟูชะลอวัย
- วิชาพฤกษเคมีและผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ
- วิชาจุลชีววิทยา
- วิชาปฏิบัติการเครื่องมือวิทยาศาสตร์และการจัดการห้องปฏิบัติการ
- วิชานิติวิทยาศาสตร์
- วิชาระเบียบวิธีวิจัย กฎหมาย จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์และสัตว์ทดลอง
- วิชาสัมมนาทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาโครงการวิจัยทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาการฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาเตรียมสหกิจศึกษาทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาสหกิจศึกษาทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
ชื่อ-สกุล นางสาวรัตน์สุภา ธรรมาภรณ์
ตำแหน่งทางวิชาการ อาจารย์
สังกัด สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
ประวัติการศึกษา
พ.ศ. 2559 ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (เคมี)
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
พ.ศ. 2552 วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เคมี)
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
พ.ศ. 2549 วิทยาศาสตรบัณฑิต (เคมี)
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สาขาที่เชี่ยวชาญ เคมีเชิงฟิสิกส์ การค้นหาสารที่มีฤทธิ์เป็นยาด้วยเคมีคอมพิวเตอร์
เทคนิคทางชีวฟิสิกส์
ผลงานทางวิชาการ
บทความวิจัย
รัชนู เมยดง เสาวนิต ทองพิมพ์ จรัญ ประจันบาล รัตน์สุภา ธรรมาภรณ์ เกษม คงนิรันดรสุข ปิลันธนา เลิศสถิตธนกร และศิริพร ทิพย์สิงห์. (2564). กิจกรรมการต้านจุลินทรีย์ก่อโรคและการยับยั้งการสร้างไบโอฟิล์มของสารสกัดจากเปลือกลำต้นกัญชง. วารสารหน่วยวิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้, 12(1), 99-110.
ประสบการณ์การสอน
1) วิชาเคมีทั่วไป
2) วิชาเคมีทั่วไปสำหรับอุตสาหกรรม
3) วิชาการวิเคราะห์เชิงปริมาณและคุณภาพ
4) วิชาปฏิบัติการการวิเคราะห์เชิงปริมาณและคุณภาพ
5) วิชาเคมีเชิงฟิสิกส์สำหรับอุตสาหกรรม
6) วิชาปฏิบัติการเคมีเชิงฟิสิกส์สำหรับอุตสาหกรรม
7) วิชาชีวเคมีและเคมีชีวอนินทรีย์สำหรับอุตสาหกรรม
8) วิชาเคมีอินทรีย์สำหรับอุตสาหกรรม
9) วิชาปฏิบัติการเคมีอินทรีย์สำหรับอุตสาหกรรม
10) วิชาหลักการและเทคนิคการวิเคราะห์เชิงเครื่องมือ 1
11) วิชาหลักการและเทคนิคการวิเคราะห์เชิงเครื่องมือ 2
12) วิชาภาษาอังกฤษสำหรับเคมีอุตสาหกรรม
13) วิชาสถิติเพื่อการวิจัย
14) วิชาสัมมนาทางเคมีอุตสาหกรรม
15) วิชาโครงการวิจัยทางเคมีอุตสาหกรรม 1
16) วิชาโครงการวิจัยทางเคมีอุตสาหกรรม 2
17) วิชาการฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางเคมีอุตสาหกรรม
ภาระงานสอนที่จะมีในหลักสูตรนี้
- วิชาเคมีสำหรับวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาเคมีวิเคราะห์สำหรับวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาชีวเคมีสำหรับวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาเทคนิคการวิเคราะห์เชิงเครื่องมือ
- วิชาการออกแบบโมเลกุลยา
- วิชาภาษาอังกฤษสำหรับวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาปฏิบัติการเครื่องมือวิทยาศาสตร์และการจัดการห้องปฏิบัติการ
- วิชานิติวิทยาศาสตร์
- วิชาระเบียบวิธีวิจัย กฎหมาย จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์และสัตว์ทดลอง
- วิชาสัมมนาทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาโครงการวิจัยทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาการฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาเตรียมสหกิจศึกษาทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาสหกิจศึกษาทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
ชื่อ-สกุล นางสาวศิริพร ทิพย์สิงห์
ตำแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ (จุลชีววิทยา)
สังกัด สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
ประวัติการศึกษา
พ.ศ. 2545 การศึกษามหาบัณฑิต (วิทยาศาสตร์ศึกษา-ชีววิทยา)
มหาวิทยาลัยศรีครินทรวิโรฒ ประสานมิตร
พ.ศ. 2539 ครุศาสตรบัณฑิต (ชีววิทยา)
สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
สาขาที่เชี่ยวชาญ การสอนชีววิทยา จุลชีววิทยา
ผลงานทางวิชาการ
บทความวิจัย
รัชนู เมยดง เสาวนิต ทองพิมพ์ จรัญ ประจันบาล รัตน์สุภา ธรรมาภรณ์ เกษม คงนิรันดรสุข ปิลันธนา เลิศสถิตธนกร และศิริพร ทิพย์สิงห์. (2564). กิจกรรมการต้านจุลินทรีย์ก่อโรคและการยับยั้งการสร้างไบโอฟิล์มของสารสกัดจากเปลือกลำต้นกัญชง. วารสารหน่วยวิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้, 12(1), 99-110.
ศิริพร ทิพย์สิงห์ สถิตย์ พันวิไล จรัญ ประจันบาล และรัชนู เมยดง. (2562). ประสิทธิภาพของ Bacillus spp. จากดินจอมปลวกในการต้านรา Pestalotiopsis sp. สาเหตุของโรคผลเน่าในฝรั่ง. Veridian E-Journal, Science and Technology Silpakorn University, 6(2), 1-14.
ศิริพร ทิพย์สิงห์ เสาวนิต ทองพิมพ์ และรัชนู เมยดง. (2562). การคัดเลือกบาซิลลัสที่ผลิตแบคเทอริโอซินต้านเชื้อก่อโรคปลาจากอาหารหมักและการศึกษาคุณสมบัติเบื้องต้นของแบคเทอริโอซิน. วารสารหน่วยวิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้, 10(1), 1-13.
ประสบการณ์ด้านปฏิบัติการ
1) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์โรงเรียนมัธยมสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
2) รองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการโรงเรียนมัธยมสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
3) รองผู้อำนวยการสำนักโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
ประสบการณ์การสอน
1) วิชาจุลชีววิทยา
2) วิชาปฏิบัติการจุลชีววิทยา
3) วิชาวิทยาสาหร่าย
4) วิชาการใช้เครื่องมือทางจุลชีววิทยา
5) วิชาโครงการวิจัยทางจุลชีววิทยา 1
6) วิชาโครงการวิจัยทางจุลชีววิทยา 2
7) วิชาความปลอดภัยทางชีวภาพในห้องปฏิบัติการทางจุลชีววิทยา
8) วิชาระบบการควบคุมคุณภาพและประกันคุณภาพด้านจุลชีววิทยา
9) วิชาสัมมนาทางจุลชีววิทยา
10) วิชานวัตกรรมผลิตภัณฑ์จุลินทรีย์
ภาระงานสอนที่จะมีในหลักสูตรนี้
- วิชาพยาธิวิทยา
- วิชาจุลชีววิทยา
- วิชาความชราภาพทางชีววิทยาและเวชศาสตร์ฟื้นฟูชะลอวัย
- วิชาปฏิบัติการเครื่องมือวิทยาศาสตร์และการจัดการห้องปฏิบัติการ
- วิชานิติวิทยาศาสตร์
- วิชาระเบียบวิธีวิจัย กฎหมาย จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์และสัตว์ทดลอง
- วิชาสัมมนาทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาโครงการวิจัยทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาการฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาเตรียมสหกิจศึกษาทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาสหกิจศึกษาทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
ชื่อ-สกุล นายจรัญ ประจันบาล
ตำแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ (จุลชีววิทยา)
สังกัด สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
ประวัติการศึกษา
พ.ศ. 2551 วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (จุลชีววิทยา)
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
พ.ศ. 2546 วิทยาศาสตรบัณฑิต (ชีววิทยาประยุกต์)
สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
สาขาที่เชี่ยวชาญ จุลชีววิทยา พฤกษศาสตร์ ความหลากหลายทางชีวภาพของพืชป่า
ผลงานทางวิชาการ
หนังสือ
จรัญ ประจันบาล สถิตย์ พันวิไล และวิชัย ปทุมชาติพัฒน์. (2561). ศรีสรรเพชญ์: พรรณไม้และการจัดการป่าอย่างยั่งยืน. นนทบุรี: วนิดาการพิมพ์.
บทความวิจัย
รัชนู เมยดง เสาวนิต ทองพิมพ์ จรัญ ประจันบาล รัตน์สุภา ธรรมาภรณ์ เกษม คงนิรันดรสุข ปิลันธนา เลิศสถิตธนกร และศิริพร ทิพย์สิงห์. (2564). กิจกรรมการต้านจุลินทรีย์ก่อโรคและการยับยั้งการสร้างไบโอฟิล์มของสารสกัดจากเปลือกลำต้นกัญชง. วารสารหน่วยวิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้, 12(1), 99-110.
อรุณ ชาญชัยเชาว์วิวัฒน์ สถิตย์ พันวิไล จรัญ ประจันบาล และสมเกียรติ พรพิสุทธิมาศ. (2563). จุลินทรีย์ก่อโรคทางเดินอาหารที่สำคัญ. วารสารหน่วยวิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้, 11(1), 188-206.
สถิตย์ พันวิไล จรัญ ประจันบาล และวิชัย ปทุมชาติพัฒน์. (2562). ลักษณะเชิงปริมาณของพืชถิ่นเดียวและสถานการณ์ของชนิดพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในป่าชุมชนบ้านศรีสรรเพชญ์ อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี. วารสารหน่วยวิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้, 10(2), 272-287.
ศิริพร ทิพย์สิงห์ สถิตย์ พันวิไล จรัญ ประจันบาล และรัชนู เมยดง. (2562). ประสิทธิภาพของ Bacillus spp. จากดินจอมปลวกในการต้านรา Pestalotiopsis sp. สาเหตุของโรคผลเน่าในฝรั่ง. Veridian E-Journal, Science and Technology Silpakorn University, 6(2), 1-14.
Panyachanakul, T., Lomthong, T., Lorliam, W., Prajanbarn, J., Tokuyama, S., Vichien Kitpreechavanich, V., and Krajangsang, S. (2020). New insight into thermo-solvent tolerant lipase produced by Streptomyces sp. A3301 for re-polymerization of poly (DL-lactic acid). Polymer, 204, 122812.
ประสบการณ์การสอน
1) วิชาจุลชีววิทยา
2) วิชาปฏิบัติการจุลชีววิทยา
3) วิชาการใช้เครื่องมือทางจุลชีววิทยา
4) วิชาความปลอดภัยทางชีวภาพในห้องปฏิบัติการทางจุลชีววิทยา
5) วิชาระบบการควบคุมคุณภาพและประกันคุณภาพด้านจุลชีววิทยา
6) วิชาโครงการวิจัยทางจุลชีววิทยา 2
7) วิชานวัตกรรมผลิตภัณฑ์จุลินทรีย์
8) วิชาการฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางจุลชีววิทยา
9) วิชาวิทยาแบคทีเรีย
10) วิชาเห็ดราวิทยา
11) วิชาจุลชีววิทยาทางการเกษตร
ภาระงานสอนที่จะมีในหลักสูตรนี้
- วิชากัญชา กัญชง และพืชกระท่อมทางการแพทย์
- วิชาปรสิตวิทยาและกีฏวิทยาทางการแพทย์
- วิชาการตรวจสอบและการสกัดสารสำคัญจากพืชสมุนไพร
- วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการเครื่องมือแพทย์
- วิชาจุลชีววิทยา
- วิชาปฏิบัติการเครื่องมือวิทยาศาสตร์และการจัดการห้องปฏิบัติการ
- วิชานิติวิทยาศาสตร์
- วิชาระเบียบวิธีวิจัย กฎหมาย จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์และสัตว์ทดลอง
- วิชาสัมมนาทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาโครงการวิจัยทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาการฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาเตรียมสหกิจศึกษาทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาสหกิจศึกษาทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
ชื่อ-สกุล นายสถิตย์ พันวิไล
ตำแหน่งทางวิชาการ อาจารย์
สังกัด สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
ประวัติการศึกษา
พ.ศ. 2557 วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (จุลชีววิทยา)
มหาวิทยาลัยมหิดล
พ.ศ. 2547 วิทยาศาสตรบัณฑิต (ชีววิทยาประยุกต์)
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
สาขาที่เชี่ยวชาญ วิทยาไวรัส พันธุวิศวกรรมจุลินทรีย์
ผลงานทางวิชาการ
หนังสือ
จรัญ ประจันบาล สถิตย์ พันวิไล และวิชัย ปทุมชาติพัฒน์. (2561). ศรีสรรเพชญ์: พรรณไม้และการจัดการป่าอย่างยั่งยืน. นนทบุรี: วนิดาการพิมพ์.
บทความวิจัย
รัชนู เมยดง เสาวนิต ทองพิมพ์ จรัญ ประจันบาล รัตน์สุภา ธรรมาภรณ์ เกษม คงนิรันดรสุข ปิลันธนา เลิศสถิตธนกร และศิริพร ทิพย์สิงห์. (2564). กิจกรรมการต้านจุลินทรีย์ก่อโรคและการยับยั้งการสร้างไบโอฟิล์มของสารสกัดจากเปลือกลำต้นกัญชง. วารสารหน่วยวิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้, 12(1), 99-110.
อรุณ ชาญชัยเชาว์วิวัฒน์ สถิตย์ พันวิไล จรัญ ประจันบาล และสมเกียรติ พรพิสุทธิมาศ. (2563). จุลินทรีย์ก่อโรคทางเดินอาหารที่สำคัญ. วารสารหน่วยวิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้, 11(1), 188-206.
สถิตย์ พันวิไล จรัญ ประจันบาล และวิชัย ปทุมชาติพัฒน์. (2562). ลักษณะเชิงปริมาณของพืชถิ่นเดียวและสถานการณ์ของชนิดพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในป่าชุมชนบ้านศรีสรรเพชญ์ อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี. วารสารหน่วยวิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้, 10(2), 272-287.
ศิริพร ทิพย์สิงห์ สถิตย์ พันวิไล จรัญ ประจันบาล และรัชนู เมยดง. (2562). ประสิทธิภาพของ Bacillus spp. จากดินจอมปลวกในการต้านรา Pestalotiopsis sp. สาเหตุของโรคผลเน่าในฝรั่ง. Veridian E-Journal, Science and Technology Silpakorn University, 6(2), 1-14.
Panvilai, S., Napaswad, C., Limthongkul, J., and Akkarawongsapat, R. (2021). Aqueous Extracts of Thai Medicinal Plants Possess anti-HIV-1 Activity. Journal of Herbs, Spices & Medicinal Plants, 27(1), 1-10.
ประสบการณ์การสอน
1) วิชาจุลชีววิทยา
2) วิชาปฏิบัติการจุลชีววิทยา
3) วิชาการใช้เครื่องมือทางจุลชีววิทยา
4) วิชาความปลอดภัยทางชีวภาพในห้องปฏิบัติการทางจุลชีววิทยา
5) วิชาระบบการควบคุมคุณภาพและประกันคุณภาพด้านจุลชีววิทยา
6) วิชาโครงการวิจัยทางจุลชีววิทยา 2
7) วิชาสัมมนาทางจุลชีววิทยา
8) วิชานวัตกรรมผลิตภัณฑ์จุลินทรีย์
9) วิชาการฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางจุลชีววิทยา
10) วิชาวิทยาไวรัส
11) วิชาวิทยาภูมิคุ้มกัน
ภาระงานสอนที่จะมีในหลักสูตรนี้
- วิชาเนื้อเยื่อวิทยา
- วิชาปฏิบัติการชีววิทยาโมเลกุลทางการแพทย์
- วิชาการตรวจหาตัวบ่งชี้ทางชีวภาพของมะเร็ง
- วิชาภูมิคุ้มกันและเทคโนโลยีการผลิตวัคซีน
- วิชาไวรัสวิทยาทางการแพทย์
- วิชาจุลชีววิทยา
- วิชาปฏิบัติการเครื่องมือวิทยาศาสตร์และการจัดการห้องปฏิบัติการ
- วิชานิติวิทยาศาสตร์
- วิชาระเบียบวิธีวิจัย กฎหมาย จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์และสัตว์ทดลอง
- วิชาสัมมนาทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาโครงการวิจัยทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาการฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาเตรียมสหกิจศึกษาทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาสหกิจศึกษาทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
ภาคผนวก จ
ประวัติและผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำ
ชื่อ-สกุล นางสาวรัชนู เมยดง
ตำแหน่งทางวิชาการ อาจารย์
สังกัด สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
ประวัติการศึกษา
พ.ศ. 2560 ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (จุลชีววิทยา)
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
พ.ศ. 2553 วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (จุลชีววิทยา)
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
พ.ศ. 2549 วิทยาศาสตรบัณฑิต (จุลชีววิทยา)
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
สาขาที่เชี่ยวชาญ แบคทีเรียโพรไบโอติก สารเมแทบอไลต์ของแบคทีเรีย
ผลงานทางวิชาการ
บทความวิจัย
รัชนู เมยดง เสาวนิต ทองพิมพ์ จรัญ ประจันบาล รัตน์สุภา ธรรมาภรณ์ เกษม คงนิรันดรสุข ปิลันธนา เลิศสถิตธนกร และศิริพร ทิพย์สิงห์. (2564). กิจกรรมการต้านจุลินทรีย์ก่อโรคและการยับยั้งการสร้างไบโอฟิล์มของสารสกัดจากเปลือกลำต้นกัญชง. วารสารหน่วยวิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้, 12(1), 99-110.
รัชนู เมยดง และเสาวนิต ทองพิมพ์. (2562). การศึกษาคุณสมบัติโพรไบโอติกส์ของ Lactobacillus plantarum BL60a ที่แยกจากอาหารหมักเพื่อประยุกต์ใช้ในอาหารเพื่อสุขภาพ. Veridian E-Journal, Science and Technology Silpakorn University, 6(4), 81-96.
ศิริพร ทิพย์สิงห์ สถิตย์ พันวิไล จรัญ ประจันบาล และรัชนู เมยดง. (2562). ประสิทธิภาพของ Bacillus spp. จากดินจอมปลวกในการต้านรา Pestalotiopsis sp. สาเหตุของโรคผลเน่าในฝรั่ง. Veridian E-Journal, Science and Technology Silpakorn University, 6(2), 1-14.
ศิริพร ทิพย์สิงห์ เสาวนิต ทองพิมพ์ และรัชนู เมยดง. (2562). การคัดเลือกบาซิลลัสที่ผลิตแบคเทอริโอซินต้านเชื้อก่อโรคปลาจากอาหารหมักและการศึกษาคุณสมบัติเบื้องต้นของแบคเทอริโอซิน. วารสารหน่วยวิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้, 10(1), 1-13.
Meidong, R., Nakao, M., Sakai, K., and Tongpim, S. (2021). Lactobacillus paraplantarum L34b-2 derived from fermented food improves the growth, disease resistance and innate immunity in Pangasius bocourti. Aquaculture, 735-878.
Meidong, R., Khotchanalekha, K., Doolgindachbaporn, S., Nagasawa, T., Nakao, M., Sakai, K., and Tongpim, S. (2018). Evaluation of probiotic Bacillus aerius B81e isolated from healthy hybrid catfish on growth, disease resistance and innate immunity of Pla Mong, Pangasius bocourti. Fish and Shellfish Immunology, 73, 1–10.
ประสบการณ์การสอน
1) วิชาจุลชีววิทยา
2) วิชาปฏิบัติการจุลชีววิทยา
3) วิชาจุลชีววิทยาทางสิ่งแวดล้อม
4) วิชาการใช้เครื่องมือทางจุลชีววิทยา
5) วิชาภาษาอังกฤษสำหรับจุลชีววิทยา 1
6) วิชาภาษาอังกฤษสำหรับจุลชีววิทยา 2
7) วิชาภาษาอังกฤษสำหรับจุลชีววิทยา 3
8) วิชาโครงการวิจัยทางจุลชีววิทยา 1
9) วิชาโครงการวิจัยทางจุลชีววิทยา 2
10) วิชาความปลอดภัยทางชีวภาพในห้องปฏิบัติการทางจุลชีววิทยา
11) วิชาระบบการควบคุมคุณภาพและประกันคุณภาพด้านจุลชีววิทยา
12) วิชาสัมมนาทางจุลชีววิทยา
13) วิชานวัตกรรมผลิตภัณฑ์จุลินทรีย์
14) วิชาการฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางจุลชีววิทยา
15) วิชาจุลชีววิทยาทางอาหาร
16) วิชาจุลชีววิทยาของผลิตภัณฑ์นม
ภาระงานสอนที่จะมีในหลักสูตรนี้
- วิชากายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของมนุษย์
- วิชาการเพาะเลี้ยงและการใช้จุลินทรีย์ก่อโรค
- วิชาความชราภาพทางชีววิทยาและเวชศาสตร์ฟื้นฟูชะลอวัย
- วิชาพฤกษเคมีและผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ
- วิชาจุลชีววิทยา
- วิชาปฏิบัติการเครื่องมือวิทยาศาสตร์และการจัดการห้องปฏิบัติการ
- วิชานิติวิทยาศาสตร์
- วิชาระเบียบวิธีวิจัย กฎหมาย จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์และสัตว์ทดลอง
- วิชาสัมมนาทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาโครงการวิจัยทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาการฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาเตรียมสหกิจศึกษาทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาสหกิจศึกษาทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
ชื่อ-สกุล นางสาวรัตน์สุภา ธรรมาภรณ์
ตำแหน่งทางวิชาการ อาจารย์
สังกัด สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
ประวัติการศึกษา
พ.ศ. 2559 ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (เคมี)
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
พ.ศ. 2552 วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เคมี)
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
พ.ศ. 2549 วิทยาศาสตรบัณฑิต (เคมี)
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สาขาที่เชี่ยวชาญ เคมีเชิงฟิสิกส์ การค้นหาสารที่มีฤทธิ์เป็นยาด้วยเคมีคอมพิวเตอร์
เทคนิคทางชีวฟิสิกส์
ผลงานทางวิชาการ
บทความวิจัย
รัชนู เมยดง เสาวนิต ทองพิมพ์ จรัญ ประจันบาล รัตน์สุภา ธรรมาภรณ์ เกษม คงนิรันดรสุข ปิลันธนา เลิศสถิตธนกร และศิริพร ทิพย์สิงห์. (2564). กิจกรรมการต้านจุลินทรีย์ก่อโรคและการยับยั้งการสร้างไบโอฟิล์มของสารสกัดจากเปลือกลำต้นกัญชง. วารสารหน่วยวิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้, 12(1), 99-110.
ประสบการณ์การสอน
1) วิชาเคมีทั่วไป
2) วิชาเคมีทั่วไปสำหรับอุตสาหกรรม
3) วิชาการวิเคราะห์เชิงปริมาณและคุณภาพ
4) วิชาปฏิบัติการการวิเคราะห์เชิงปริมาณและคุณภาพ
5) วิชาเคมีเชิงฟิสิกส์สำหรับอุตสาหกรรม
6) วิชาปฏิบัติการเคมีเชิงฟิสิกส์สำหรับอุตสาหกรรม
7) วิชาชีวเคมีและเคมีชีวอนินทรีย์สำหรับอุตสาหกรรม
8) วิชาเคมีอินทรีย์สำหรับอุตสาหกรรม
9) วิชาปฏิบัติการเคมีอินทรีย์สำหรับอุตสาหกรรม
10) วิชาหลักการและเทคนิคการวิเคราะห์เชิงเครื่องมือ 1
11) วิชาหลักการและเทคนิคการวิเคราะห์เชิงเครื่องมือ 2
12) วิชาภาษาอังกฤษสำหรับเคมีอุตสาหกรรม
13) วิชาสถิติเพื่อการวิจัย
14) วิชาสัมมนาทางเคมีอุตสาหกรรม
15) วิชาโครงการวิจัยทางเคมีอุตสาหกรรม 1
16) วิชาโครงการวิจัยทางเคมีอุตสาหกรรม 2
17) วิชาการฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางเคมีอุตสาหกรรม
ภาระงานสอนที่จะมีในหลักสูตรนี้
- วิชาเคมีสำหรับวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาเคมีวิเคราะห์สำหรับวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาชีวเคมีสำหรับวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาเทคนิคการวิเคราะห์เชิงเครื่องมือ
- วิชาการออกแบบโมเลกุลยา
- วิชาภาษาอังกฤษสำหรับวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาปฏิบัติการเครื่องมือวิทยาศาสตร์และการจัดการห้องปฏิบัติการ
- วิชานิติวิทยาศาสตร์
- วิชาระเบียบวิธีวิจัย กฎหมาย จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์และสัตว์ทดลอง
- วิชาสัมมนาทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาโครงการวิจัยทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาการฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาเตรียมสหกิจศึกษาทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาสหกิจศึกษาทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
ชื่อ-สกุล นางสาวศิริพร ทิพย์สิงห์
ตำแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ (จุลชีววิทยา)
สังกัด สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
ประวัติการศึกษา
พ.ศ. 2545 การศึกษามหาบัณฑิต (วิทยาศาสตร์ศึกษา-ชีววิทยา)
มหาวิทยาลัยศรีครินทรวิโรฒ ประสานมิตร
พ.ศ. 2539 ครุศาสตรบัณฑิต (ชีววิทยา)
สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
สาขาที่เชี่ยวชาญ การสอนชีววิทยา จุลชีววิทยา
ผลงานทางวิชาการ
บทความวิจัย
รัชนู เมยดง เสาวนิต ทองพิมพ์ จรัญ ประจันบาล รัตน์สุภา ธรรมาภรณ์ เกษม คงนิรันดรสุข ปิลันธนา เลิศสถิตธนกร และศิริพร ทิพย์สิงห์. (2564). กิจกรรมการต้านจุลินทรีย์ก่อโรคและการยับยั้งการสร้างไบโอฟิล์มของสารสกัดจากเปลือกลำต้นกัญชง. วารสารหน่วยวิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้, 12(1), 99-110.
ศิริพร ทิพย์สิงห์ สถิตย์ พันวิไล จรัญ ประจันบาล และรัชนู เมยดง. (2562). ประสิทธิภาพของ Bacillus spp. จากดินจอมปลวกในการต้านรา Pestalotiopsis sp. สาเหตุของโรคผลเน่าในฝรั่ง. Veridian E-Journal, Science and Technology Silpakorn University, 6(2), 1-14.
ศิริพร ทิพย์สิงห์ เสาวนิต ทองพิมพ์ และรัชนู เมยดง. (2562). การคัดเลือกบาซิลลัสที่ผลิตแบคเทอริโอซินต้านเชื้อก่อโรคปลาจากอาหารหมักและการศึกษาคุณสมบัติเบื้องต้นของแบคเทอริโอซิน. วารสารหน่วยวิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้, 10(1), 1-13.
ประสบการณ์ด้านปฏิบัติการ
1) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์โรงเรียนมัธยมสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
2) รองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการโรงเรียนมัธยมสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
3) รองผู้อำนวยการสำนักโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
ประสบการณ์การสอน
1) วิชาจุลชีววิทยา
2) วิชาปฏิบัติการจุลชีววิทยา
3) วิชาวิทยาสาหร่าย
4) วิชาการใช้เครื่องมือทางจุลชีววิทยา
5) วิชาโครงการวิจัยทางจุลชีววิทยา 1
6) วิชาโครงการวิจัยทางจุลชีววิทยา 2
7) วิชาความปลอดภัยทางชีวภาพในห้องปฏิบัติการทางจุลชีววิทยา
8) วิชาระบบการควบคุมคุณภาพและประกันคุณภาพด้านจุลชีววิทยา
9) วิชาสัมมนาทางจุลชีววิทยา
10) วิชานวัตกรรมผลิตภัณฑ์จุลินทรีย์
ภาระงานสอนที่จะมีในหลักสูตรนี้
- วิชาพยาธิวิทยา
- วิชาจุลชีววิทยา
- วิชาความชราภาพทางชีววิทยาและเวชศาสตร์ฟื้นฟูชะลอวัย
- วิชาปฏิบัติการเครื่องมือวิทยาศาสตร์และการจัดการห้องปฏิบัติการ
- วิชานิติวิทยาศาสตร์
- วิชาระเบียบวิธีวิจัย กฎหมาย จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์และสัตว์ทดลอง
- วิชาสัมมนาทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาโครงการวิจัยทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาการฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาเตรียมสหกิจศึกษาทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาสหกิจศึกษาทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
ชื่อ-สกุล นายจรัญ ประจันบาล
ตำแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ (จุลชีววิทยา)
สังกัด สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
ประวัติการศึกษา
พ.ศ. 2551 วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (จุลชีววิทยา)
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
พ.ศ. 2546 วิทยาศาสตรบัณฑิต (ชีววิทยาประยุกต์)
สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
สาขาที่เชี่ยวชาญ จุลชีววิทยา พฤกษศาสตร์ ความหลากหลายทางชีวภาพของพืชป่า
ผลงานทางวิชาการ
หนังสือ
จรัญ ประจันบาล สถิตย์ พันวิไล และวิชัย ปทุมชาติพัฒน์. (2561). ศรีสรรเพชญ์: พรรณไม้และการจัดการป่าอย่างยั่งยืน. นนทบุรี: วนิดาการพิมพ์.
บทความวิจัย
รัชนู เมยดง เสาวนิต ทองพิมพ์ จรัญ ประจันบาล รัตน์สุภา ธรรมาภรณ์ เกษม คงนิรันดรสุข ปิลันธนา เลิศสถิตธนกร และศิริพร ทิพย์สิงห์. (2564). กิจกรรมการต้านจุลินทรีย์ก่อโรคและการยับยั้งการสร้างไบโอฟิล์มของสารสกัดจากเปลือกลำต้นกัญชง. วารสารหน่วยวิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้, 12(1), 99-110.
อรุณ ชาญชัยเชาว์วิวัฒน์ สถิตย์ พันวิไล จรัญ ประจันบาล และสมเกียรติ พรพิสุทธิมาศ. (2563). จุลินทรีย์ก่อโรคทางเดินอาหารที่สำคัญ. วารสารหน่วยวิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้, 11(1), 188-206.
สถิตย์ พันวิไล จรัญ ประจันบาล และวิชัย ปทุมชาติพัฒน์. (2562). ลักษณะเชิงปริมาณของพืชถิ่นเดียวและสถานการณ์ของชนิดพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในป่าชุมชนบ้านศรีสรรเพชญ์ อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี. วารสารหน่วยวิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้, 10(2), 272-287.
ศิริพร ทิพย์สิงห์ สถิตย์ พันวิไล จรัญ ประจันบาล และรัชนู เมยดง. (2562). ประสิทธิภาพของ Bacillus spp. จากดินจอมปลวกในการต้านรา Pestalotiopsis sp. สาเหตุของโรคผลเน่าในฝรั่ง. Veridian E-Journal, Science and Technology Silpakorn University, 6(2), 1-14.
Panyachanakul, T., Lomthong, T., Lorliam, W., Prajanbarn, J., Tokuyama, S., Vichien Kitpreechavanich, V., and Krajangsang, S. (2020). New insight into thermo-solvent tolerant lipase produced by Streptomyces sp. A3301 for re-polymerization of poly (DL-lactic acid). Polymer, 204, 122812.
ประสบการณ์การสอน
1) วิชาจุลชีววิทยา
2) วิชาปฏิบัติการจุลชีววิทยา
3) วิชาการใช้เครื่องมือทางจุลชีววิทยา
4) วิชาความปลอดภัยทางชีวภาพในห้องปฏิบัติการทางจุลชีววิทยา
5) วิชาระบบการควบคุมคุณภาพและประกันคุณภาพด้านจุลชีววิทยา
6) วิชาโครงการวิจัยทางจุลชีววิทยา 2
7) วิชานวัตกรรมผลิตภัณฑ์จุลินทรีย์
8) วิชาการฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางจุลชีววิทยา
9) วิชาวิทยาแบคทีเรีย
10) วิชาเห็ดราวิทยา
11) วิชาจุลชีววิทยาทางการเกษตร
ภาระงานสอนที่จะมีในหลักสูตรนี้
- วิชากัญชา กัญชง และพืชกระท่อมทางการแพทย์
- วิชาปรสิตวิทยาและกีฏวิทยาทางการแพทย์
- วิชาการตรวจสอบและการสกัดสารสำคัญจากพืชสมุนไพร
- วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการเครื่องมือแพทย์
- วิชาจุลชีววิทยา
- วิชาปฏิบัติการเครื่องมือวิทยาศาสตร์และการจัดการห้องปฏิบัติการ
- วิชานิติวิทยาศาสตร์
- วิชาระเบียบวิธีวิจัย กฎหมาย จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์และสัตว์ทดลอง
- วิชาสัมมนาทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาโครงการวิจัยทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาการฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาเตรียมสหกิจศึกษาทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาสหกิจศึกษาทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
ชื่อ-สกุล นายสถิตย์ พันวิไล
ตำแหน่งทางวิชาการ อาจารย์
สังกัด สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
ประวัติการศึกษา
พ.ศ. 2557 วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (จุลชีววิทยา)
มหาวิทยาลัยมหิดล
พ.ศ. 2547 วิทยาศาสตรบัณฑิต (ชีววิทยาประยุกต์)
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
สาขาที่เชี่ยวชาญ วิทยาไวรัส พันธุวิศวกรรมจุลินทรีย์
ผลงานทางวิชาการ
หนังสือ
จรัญ ประจันบาล สถิตย์ พันวิไล และวิชัย ปทุมชาติพัฒน์. (2561). ศรีสรรเพชญ์: พรรณไม้และการจัดการป่าอย่างยั่งยืน. นนทบุรี: วนิดาการพิมพ์.
บทความวิจัย
รัชนู เมยดง เสาวนิต ทองพิมพ์ จรัญ ประจันบาล รัตน์สุภา ธรรมาภรณ์ เกษม คงนิรันดรสุข ปิลันธนา เลิศสถิตธนกร และศิริพร ทิพย์สิงห์. (2564). กิจกรรมการต้านจุลินทรีย์ก่อโรคและการยับยั้งการสร้างไบโอฟิล์มของสารสกัดจากเปลือกลำต้นกัญชง. วารสารหน่วยวิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้, 12(1), 99-110.
อรุณ ชาญชัยเชาว์วิวัฒน์ สถิตย์ พันวิไล จรัญ ประจันบาล และสมเกียรติ พรพิสุทธิมาศ. (2563). จุลินทรีย์ก่อโรคทางเดินอาหารที่สำคัญ. วารสารหน่วยวิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้, 11(1), 188-206.
สถิตย์ พันวิไล จรัญ ประจันบาล และวิชัย ปทุมชาติพัฒน์. (2562). ลักษณะเชิงปริมาณของพืชถิ่นเดียวและสถานการณ์ของชนิดพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในป่าชุมชนบ้านศรีสรรเพชญ์ อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี. วารสารหน่วยวิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้, 10(2), 272-287.
ศิริพร ทิพย์สิงห์ สถิตย์ พันวิไล จรัญ ประจันบาล และรัชนู เมยดง. (2562). ประสิทธิภาพของ Bacillus spp. จากดินจอมปลวกในการต้านรา Pestalotiopsis sp. สาเหตุของโรคผลเน่าในฝรั่ง. Veridian E-Journal, Science and Technology Silpakorn University, 6(2), 1-14.
Panvilai, S., Napaswad, C., Limthongkul, J., and Akkarawongsapat, R. (2021). Aqueous Extracts of Thai Medicinal Plants Possess anti-HIV-1 Activity. Journal of Herbs, Spices & Medicinal Plants, 27(1), 1-10.
ประสบการณ์การสอน
1) วิชาจุลชีววิทยา
2) วิชาปฏิบัติการจุลชีววิทยา
3) วิชาการใช้เครื่องมือทางจุลชีววิทยา
4) วิชาความปลอดภัยทางชีวภาพในห้องปฏิบัติการทางจุลชีววิทยา
5) วิชาระบบการควบคุมคุณภาพและประกันคุณภาพด้านจุลชีววิทยา
6) วิชาโครงการวิจัยทางจุลชีววิทยา
7) วิชาสัมมนาทางจุลชีววิทยา
8) วิชานวัตกรรมผลิตภัณฑ์จุลินทรีย์
9) วิชาการฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางจุลชีววิทยา
10) วิชาวิทยาไวรัส
11) วิชาวิทยาภูมิคุ้มกัน
ภาระงานสอนที่จะมีในหลักสูตรนี้
- วิชาเนื้อเยื่อวิทยา
- วิชาปฏิบัติการชีววิทยาโมเลกุลทางการแพทย์
- วิชาการตรวจหาตัวบ่งชี้ทางชีวภาพของมะเร็ง
- วิชาภูมิคุ้มกันและเทคโนโลยีการผลิตวัคซีน
- วิชาไวรัสวิทยาทางการแพทย์
- วิชาจุลชีววิทยา
- วิชาปฏิบัติการเครื่องมือวิทยาศาสตร์และการจัดการห้องปฏิบัติการ
- วิชานิติวิทยาศาสตร์
- วิชาระเบียบวิธีวิจัย กฎหมาย จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์และสัตว์ทดลอง
- วิชาสัมมนาทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาโครงการวิจัยทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาการฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาเตรียมสหกิจศึกษาทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาสหกิจศึกษาทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
ชื่อ-สกุล นางสาวอรุณ ชาญชัยเชาว์วิวัฒน์
ตำแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ (จุลชีววิทยา)
สังกัด สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
ประวัติการศึกษา
พ.ศ. 2551 ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการศึกษา)
มหาวิทยาลัยมหิดล
พ.ศ. 2536 วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (จุลชีววิทยาอุตสาหกรรม)
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
พ.ศ. 2532 วิทยาศาสตรบัณฑิต (จุลชีววิทยา)
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สาขาที่เชี่ยวชาญ จุลชีววิทยา
ผลงานทางวิชาการ
บทความวิจัย
อรุณ ชาญชัยเชาว์วิวัฒน์ สถิตย์ พันวิไล จรัญ ประจันบาล และสมเกียรติ พรพิสุทธิมาศ. (2563). จุลินทรีย์ก่อโรคทางเดินอาหารที่สำคัญ. วารสารหน่วยวิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้, 11(1), 188-206.
อรุณ ชาญชัยเชาว์วิวัฒน์ สุวินัย เกิดทับทิม สมเกียรติ พรพิสุทธิมาศ. (2562). มาตรฐานผลิตภัณฑ์อาหารชุมชน. วารสารหน่วยวิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้, 10(1), 137-149.
ประสบการณ์การสอน
1) วิชาจุลชีววิทยา
2) วิชาปฏิบัติการจุลชีววิทยา
3) วิชาภาษาอังกฤษสำหรับจุลชีววิทยา 1
4) วิชาการใช้เครื่องมือทางจุลชีววิทยา
5) วิชาภาษาอังกฤษสำหรับจุลชีววิทยา 2
6) วิชาภาษาอังกฤษสำหรับจุลชีววิทยา 3
7) วิชาโครงการวิจัยทางจุลชีววิทยา 1
8) วิชาความปลอดภัยทางชีวภาพในห้องปฏิบัติการทางจุลชีววิทยา
9) วิชาระบบการควบคุมคุณภาพและประกันคุณภาพด้านจุลชีววิทยา
10) วิชาโครงการวิจัยทางจุลชีววิทยา 2
11) วิชาสัมมนาทางจุลชีววิทยา
12) วิชานวัตกรรมผลิตภัณฑ์จุลินทรีย์
13) วิชาการฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางจุลชีววิทยา
14) วิชายีสต์และเทคโนโลยีของยีสต์
15) วิชาจุลชีววิทยาทางอุตสาหกรรม
16) วิชาเทคโนโลยีอาหารหมัก
ภาระงานสอนที่จะมีในหลักสูตรนี้
- วิชาภาษาอังกฤษสำหรับวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาจุลชีววิทยา
- วิชาปฏิบัติการเครื่องมือวิทยาศาสตร์และการจัดการห้องปฏิบัติการ
- วิชานิติวิทยาศาสตร์
- วิชาระเบียบวิธีวิจัย กฎหมาย จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์และสัตว์ทดลอง
- วิชาสัมมนาทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาโครงการวิจัยทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาการฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาเตรียมสหกิจศึกษาทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาสหกิจศึกษาทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
ชื่อ-สกุล นางสาวรุ่งลักษณ์ แก้ววิเชียร
ตำแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ (จุลชีววิทยา)
สังกัด สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
ประวัติการศึกษา
พ.ศ. 2556 ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (จุลชีววิทยา)
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
พ.ศ. 2552 วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (จุลชีววิทยา)
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
พ.ศ. 2550 วิทยาศาสตรบัณฑิต (ชีววิทยา)
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สาขาที่เชี่ยวชาญ อนุกรมวิธานของยีสต์ ความหลากหลายทางชีวภาพของยีสต์
ผลงานทางวิชาการ
บทความวิจัย
Limtong, S., Am-In, S., Kaewwichian, R., Kaewkrajay, C., and Jindamorakot, S. (2020). Exploration of yeast communities in fresh coconut, palmyra, and nipa palm saps and ethanol-fermenting ability of isolated yeasts. Antonie van Leeuwenhoek, 113:2077-2095.
Kaewwichian, R., Khunnamwong, P., Am-In, S., Jindamorakot, S., and Limtong, S. (2020). Torulaspora nypae sp. nov., a novel yeast species isolated from nipa (Nypa fruticans Wurmb.) inflorescence sap in southern Thailand. International Journal of Systematic and Evolutionary Microbiology, 70:1112-1116.
Kaewwichian, R., Khunnamwong, P., Am-In, S., Jindamorakot, S., Groenewald, M., and Limtong, S. (2019). Candida xylosifermentans sp. nov., a D-xylose-fermenting yeast species isolated in Thailand. International Journal of Systematic and Evolutionary Microbiology, 69: 2674-2680.
Kaewwichian, R., Khunnamwong, P., Jindamorakot, S., Lertwattanasakul, N., and Limtong, S. (2018). Cryptotrichosporon siamense sp. nov., a ballistoconidium forming yeast species in Trichosporonales isolated in Thailand. International Journal of Systematic and Evolutionary Microbiology, 68:2473-2477.
ประสบการณ์ด้านปฏิบัติการ
ตำแหน่ง ผู้ช่วยนักวิจัย สถานที่ทำงาน ห้องปฏิบัติการเก็บรวบรวมสายพันธุ์จุลินทรีย์ ศูนย์พันธุ-วิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ
ประสบการณ์การสอน
1) วิชาจุลชีววิทยา
2) วิชาปฏิบัติการจุลชีววิทยา
3) วิชาการใช้เครื่องมือทางจุลชีววิทยา
4) วิชาโครงการวิจัยทางจุลชีววิทยา 1
5) วิชาโครงการวิจัยทางจุลชีววิทยา 2
6) วิชาระบบการควบคุมคุณภาพและประกันคุณภาพด้านจุลชีววิทยา
7) วิชาความปลอดภัยทางชีวภาพในห้องปฏิบัติการทางจุลชีววิทยา
8) วิชาสัมมนาทางจุลชีววิทยา
9) วิชานวัตกรรมผลิตภัณฑ์จุลินทรีย์
10) วิชาการฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางจุลชีววิทยา
11) วิชาการเก็บรักษาเชื้อจุลินทรีย์
12) วิชาสรีรวิทยาของจุลินทรีย์
13) วิชาพันธุศาสตร์และพันธุวิศวกรรมจุลินทรีย์
14) วิชาวิทยาศาสต์เพื่อคุณภาพชีวิต
15) วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในชีวิตประจำวัน
ภาระงานสอนที่จะมีในหลักสูตรนี้
- วิชากายวิภาคศาสตร์
- วิชาจุลทรรศนศาสตร์และภาพชีวภาพ
- วิชาอุตสาหกรรมเครื่องมือและผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์
- วิชาการเก็บรักษาเซลล์และจุลินทรีย์ทางการแพทย์
- วิชาจุลชีววิทยา
- วิชาปฏิบัติการเครื่องมือวิทยาศาสตร์และการจัดการห้องปฏิบัติการ
- วิชานิติวิทยาศาสตร์
- วิชาการจัดการขยะติดเชื้อ
- วิชาระเบียบวิธีวิจัย กฎหมาย จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์และสัตว์ทดลอง
- วิชาสัมมนาทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาโครงการวิจัยทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาการฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาเตรียมสหกิจศึกษาทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาสหกิจศึกษาทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
ชื่อ-สกุล นางสาวเบญจรัตน์ จันสน
ตำแหน่งทางวิชาการ อาจารย์
สังกัด สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
ประวัติการศึกษา
พ.ศ. 2562 วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สรีรวิทยา)
มหาวิทยาลัยนเรศวร
พ.ศ. 2560 วิทยาศาสตรบัณฑิต (วิทยาศาสตร์การแพทย์)
มหาวิทยาลัยนเรศวร
สาขาที่เชี่ยวชาญ สรีรวิทยา โรคที่เกิดจากความผิดปกติทางเมแทบอลิซึม
ผลงานทางวิชาการ
บทความวิจัย
Tunsophon, S., Deenin, W., and Janson, B. (2019). A twelve week home exercise program to improve the physical fitness in the elderly. Naresuan University Journal: Science and Technology, 27(2), 90-101.
ประสบการณ์การสอน
1) วิชาสรีรวิทยาพื้นฐาน
2) วิชากายวิภาคศาสตร์พื้นฐาน
3) วิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสาธารณสุข 1
4) วิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสาธารณสุข 2
5) วิชาการวิจัยทางสาธารณสุข
6) วิชาเภสัชวิทยาและพิษวิทยา
ภาระงานสอนที่จะมีในหลักสูตรนี้
1) วิชากายวิภาคศาสตร์
2) วิชากายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของมนุษย์
3) วิชาพยาธิวิทยา
4) วิชาระเบียบวิธีวิจัย กฎหมาย จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์และสัตว์ทดลอง
5) วิชาสัมมนาทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
6) วิชาโครงการวิจัยทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
7) วิชาการฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
8) วิชาเตรียมสหกิจศึกษาทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
9) วิชาสหกิจศึกษาทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
ชื่อ-สกุล นางสาวกรกฎ เพ็ชร์หัสณะโยธิน
ตำแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ (วิศวกรรมเคมี)
สังกัด สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
ประวัติการศึกษา
พ.ศ. 2555 ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (การจัดการเทคโนโลยี)
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
พ.ศ. 2549 วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เคมีอุตสาหกรรม)
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
พ.ศ. 2545 วิทยาศาสตรบัณฑิต (เคมี)
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
สาขาที่เชี่ยวชาญ การออกแบบระบบบำบัดน้ำเสีย การทดสอบฤทธิ์ทางชีวภาพของพืช สมุนไพร การเตรียมและตรวจสอบลักษณะเจล
ผลงานทางวิชาการ
บทความวิจัย
กรกฎ เพ็ชร์หัสณะโยธิน สุธน เสถียรยานนท์ และธิดา อมร. (2561). นวัตกรรมการผลิตข้าวกล้องงอกให้สาร กาบาสูง. วารสารวิทยาศาสตร์ลาดกระบัง, 27(1), 115-119.
กรกฎ เพ็ชร์หัสณะโยธิน ดวงกมล บุญบำรุง และสุภาภรณ์ คางคำ. (2561). การเตรียมและตรวจสอบลักษณะสมบัติของเจลเมทิล 2-อะมิโนเบนโซเอต. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มทร.ธัญบุรี, 8(1), 13-27.
ประสบการณ์การสอน
1) วิชาเคมี 1
2) วิชาเคมีทั่วไป
3) วิชาเคมี 2
4) วิชาปฏิบัติการเคมี 1
5) วิชาปฏิบัติการเคมี 2
6) วิชาเคมีสิ่งแวดล้อม
7) วิชาปฏิบัติการชีวเคมี
8) วิชาปฏิบัติการเคมีอินทรีย์
9) วิชาเคมีวิเคราะห์
10) วิชาเคมีอุตสาหกรรม
11) วิชาการคิดและการตัดสินใจ
12) วิชากระบวนการทางวิศวกรรมเคมี
13) วิชาเคมีทั่วไปสำหรับอุตสาหกรรม
14) วิชาการผลิตน้ำและการบำบัดน้ำเสียในอุตสาหกรรม
15) วิชาการบำบัดของเสียในโรงงานอุตสาหกรรม
16) วิชาเคมีอินทรีย์สำหรับอุตสาหกรรม
17) วิชาการบำบัดน้ำและน้ำเสียเบื้องต้น
18) วิชาปฏิบัติการการบำบัดน้ำและน้ำเสียเบื้องต้น
19) วิชาการควบคุมมลภาวะอากาศ
20) วิชาหลักการวิเคราะห์และเทคนิคการวิเคราะห์เชิงเครื่องมือ
21) วิชามลภาวะอุตสาหกรรม การบำบัด และควบคุมเบื้องต้น
22) วิชาภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน
23) วิชาสถิติเพื่อการวิจัย
24) วิชาวิชาการวิเคราะห์เชิงปริมาณและคุณภาพ
25) วิชาปฏิบัติการการวิเคราะห์เชิงปริมาณและคุณภาพ
26) วิชาการจัดการมลพิษอากาศในอุตสาหกรรม
27) วิชากระบวนการอุตสาหกรรมทางเคมี
28) วิชาสัมมนาเฉพาะทาง
29) วิชาโครงการวิจัย
30) วิชาการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
ภาระงานสอนที่จะมีในหลักสูตรนี้
- วิชาเคมีสำหรับวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาเคมีวิเคราะห์สำหรับวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาชีวเคมีสำหรับวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาปฏิบัติการเครื่องมือวิทยาศาสตร์และการจัดการห้องปฏิบัติการ
- วิชาภาษาอังกฤษสำหรับวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาสถิติสำหรับวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาพฤกษเคมีและผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ
- วิชาเทคนิคการวิเคราะห์เชิงเครื่องมือ
- วิชาสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
- วิชาการจัดการขยะติดเชื้อ
- วิชานิติวิทยาศาสตร์
- วิชาระเบียบวิธีวิจัย กฎหมาย จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์และสัตว์ทดลอง
- วิชาสัมมนาทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาโครงการวิจัยทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาการฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาเตรียมสหกิจศึกษาทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาสหกิจศึกษาทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
ชื่อ-สกุล นางสาวญาณิศา ตันติปาลกุล
ตำแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ (เคมีสิ่งแวดล้อม)
สังกัด สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
ประวัติการศึกษา
พ.ศ. 2561 ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (การจัดการนวัตกรรมและเทคโนโลยี)
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
พ.ศ. 2557 ประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
พ.ศ. 2550 วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เคมีอุตสาหกรรม)
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
พ.ศ. 2547 วิทยาศาสตรบัณฑิต (เคมี)
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
สาขาที่เชี่ยวชาญ การสังเคราะห์อนุภาคระดับนาโน การปรับปรุงคุณภาพน้ำ
ผลงานทางวิชาการ
บทความวิจัย
ญาณิศา ตันติปาลกุล คุณัช ปาลวัฒน์วิไชย ธิดารัตน์ เดชฉกรรจ์ และเจมจิรา ไขสาร. (2561). การศึกษาสารตกตะกอนที่เหมาะสมสำหรับกระบวนการผลิตน้ำประปา การประปานครหลวง. วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา, 23(1), 207-220.
ญาณิศา ตันติปาลกุล บุญมี กวินเสกสรรค์ สมบัติ ทีฆทรัพย์ และจักรพงษ์ แก้วขาว. (2561). การใช้
เทคนิคโซลเจลในการสังเคราะห์ฟิล์มบางไทเทเนียมไดออกไซด์ สำหรับการผลิตกระจกทำความ
สะอาดตัวเอง. SAU Journal of Science & Technology, 4(1). 22-34.
ประสบการณ์การสอน
1) วิชาเคมี 1 และปฏิบัติการเคมี 1
2) วิชาเคมี 2 และปฏิบัติการเคมี 2
3) วิชาเคมีทั่วไป
4) วิชาปฏิบัติการชีวเคมีทั่วไป
5) วิชาเคมีอินทรีย์สำหรับอุตสาหกรรม และปฏิบัติการเคมีอินทรีย์สำหรับอุตสาหกรรม
6) วิชาการวิเคราะห์เชิงปริมาณและคุณภาพ และปฏิบัติการวิเคราะห์เชิงปริมาณและคุณภาพ
7) วิชาหลักการและเทคนิคการวิเคราะห์เชิงเครื่องมือ 1
8) วิชาหลักการและเทคนิคการวิเคราะห์เชิงเครื่องมือ 2
9) วิชาเคมีสิ่งแวดล้อม
10) วิชากระบวนการเคมีอุตสาหกรรม
11) วิชาสัมมนาทางเคมีอุตสาหกรรม
12) วิชาโครงการวิจัยทางเคมีอุตสาหกรรม 1
13) วิชาโครงการวิจัยทางเคมีอุตสาหกรรม 2
14) วิชาการฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางเคมีอุตสาหกรรม
ภาระงานสอนที่จะมีในหลักสูตรนี้
- วิชาเคมีสำหรับวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาเคมีวิเคราะห์สำหรับวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาชีวเคมีสำหรับวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาปฏิบัติการเครื่องมือวิทยาศาสตร์และการจัดการห้องปฏิบัติการ
- วิชาเทคนิคการวิเคราะห์เชิงเครื่องมือ
- วิชามาตรฐานสากลระบบบริหารคุณภาพทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชานาโนเทคโนโลยีทางการแพทย์
- วิชานิติวิทยาศาสตร์
- วิชาระเบียบวิธีวิจัย กฎหมาย จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์และสัตว์ทดลอง
- วิชาสัมมนาทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาโครงการวิจัยทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาการฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาเตรียมสหกิจศึกษาทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาสหกิจศึกษาทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
ชื่อ-สกุล นายณัฐวุฒิ รัตนาธรรมวัฒน์
ตำแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ (วิศวกรรมพอลิเมอร์)
สังกัด สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
ประวัติการศึกษา
พ.ศ. 2548 วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีวัสดุ)
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
พ.ศ. 2545 ประกาศนียบัตรบัณฑิต (เทคโนโลยีวัสดุ)
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
พ.ศ. 2544 วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมพอลิเมอร์)
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
สาขาที่เชี่ยวชาญ การสังเคราะห์พอลิเมอร์ วัสดุเชิงประกอบพอลิเมอร์ ยางธรรมชาติ และยาง สังเคราะห์
ผลงานทางวิชาการ
บทความวิจัย
ณัฐวุฒิ รัตนาธรรมวัฒน์. (2561). สภาวะการสังเคราะห์ที่ส่งผลต่อโครงสร้างและสมบัติของพอลิเมอร์กึ่งตัวนำในตระกูลพอลิไทโอฟีน. วารสารก้าวทันโลกวิทยาศาสตร์, 18(2), 1-12.
ประสบการณ์การสอน
1) วิชาเคมีทั่วไป
2) วิชาเคมี 1 และปฏิบัติการเคมี 1
3) วิชาเคมีอินทรีย์ 1 และ 2
4) วิชาปฏิบัติการเคมีอินทรีย์ 1 และ 2
5) วิชาเคมีเชิงฟิสิกส์ 1 และ 2
6) วิชาเคมีปฏิบัติการเชิงฟิสิกส์ 1 และ 2
7) หลักการและการคำนวณทางวิศวกรรมเคมี
8) วิชาหน่วยปฏิบัติการทางวิศวกรรมเคมี
9) วิชาปฏิบัติการหน่วยปฏิบัติการทางวิศวกรรมเคมี
10) วิชาพอลิเมอร์
11) วิชาปฏิบัติการพอลิเมอร์
12) วิชาเทคนิคการวิเคราะห์เชิงเครื่องมือ
13) วิชาเทคโนโลยีสะอาดและพลังงานทดแทน
14) วิชาพอลิเมอร์ผสมและพอลิเมอร์เชิงประกอบ
15) วิชาเทคโนโลยียางและสิ่งทอ
16) วิชาการพิสูจนเอกลักษณและทดสอบวัสดุ
17) วิชาสัมมนาทางเคมีอุตสาหกรรม
18) วิชาโครงการวิจัยทางเคมีอุตสาหกรรม
19) วิชาการฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางเคมีอุตสาหกรรม
ภาระงานสอนที่จะมีในหลักสูตรนี้
- วิชาเคมีสำหรับวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาเคมีวิเคราะห์สำหรับวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาวัสดุศาสตร์ทางการแพทย์
- วิชาการผลิตวัสดุและผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์
- วิชาหลักการตลาดและการบัญชี
- วิชาการเป็นผู้ประกอบการทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาวัสดุชีวภาพทางการแพทย์
- วิชาเทคนิคการวิเคราะห์เชิงเครื่องมือ
- วิชามาตรฐานสากลระบบบริหารคุณภาพทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชานาโนเทคโนโลยีทางการแพทย์
- วิชาชีววัสดุความงาม
- วิชานิติวิทยาศาสตร์
- วิชาระเบียบวิธีวิจัย กฎหมาย จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์และสัตว์ทดลอง
- วิชาสัมมนาทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาโครงการวิจัยทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาการฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาเตรียมสหกิจศึกษาทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาสหกิจศึกษาทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
ชื่อ-สกุล นายธนพงษ์ เชื้อฉุน
ตำแหน่งทางวิชาการ อาจารย์
สังกัด สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
ประวัติการศึกษา
พ.ศ. 2556 วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีวัสดุ)
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
พ.ศ. 2550 วิทยาศาสตรบัณฑิต (เคมี)
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
สาขาที่เชี่ยวชาญ พอลิเมอร์ผสมและวัสดุเชิงประกอบพอลิเมอร์
ผลงานทางวิชาการ
–
ประสบการณ์การสอน
1) วิชาเคมีทั่วไป
2) วิชาเคมีทั่วไปสำหรับอุตสาหกรรม
3) วิชาเคมีอินทรีย์สำหรับอุตสาหกรรม
4) วิชาปฏิบัติการเคมีอินทรีย์สำหรับอุตสาหกรรม
5) วิชาเคมีอนินทรีย์สำหรับอุตสาหกรรม
6) วิชาอุตสาหกรรมปิโตรเคมี
7) วิชาพอลิเมอร์
8) วิชาปฏิบัติการพอลิเมอร์
9) วิชาเทคนิคการวิเคราะห์เชิงเครื่องมือ
10) วิชากระบวนการขึ้นรูปและทดสอบสมบัติของพอลิเมอร์
11) วิชาพอลิเมอร์ผสมและพอลิเมอร์เชิงประกอบ
12) วิชาหลักการคำนวณทางวิศวกรรมเคมี
13) วิชาการพิสูจน์เอกลักษณ์และทดสอบวัสดุ
14) วิชาสารสนเทศและการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ทางเคมี
15) วิชาโครงการวิจัยทางเคมีอุตสาหกรรม
16) วิชาการฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางเคมีอุตสาหกรรม
ภาระงานสอนที่จะมีในหลักสูตรนี้
- วิชาเคมีสำหรับวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาเคมีวิเคราะห์สำหรับวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาวัสดุศาสตร์ทางการแพทย์
- วิชาการผลิตวัสดุและผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์
- วิชาการออกแบบวัสดุทางการแพทย์ด้วยคอมพิวเตอร์
- วิชาวัสดุชีวภาพทางการแพทย์
- วิชาวัสดุอนินทรีย์ทางการแพทย์
- วิชาเทคนิคการวิเคราะห์เชิงเครื่องมือ
- วิชามาตรฐานสากลระบบบริหารคุณภาพทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชานาโนเทคโนโลยีทางการแพทย์
- วิชาชีววัสดุความงาม
- วิชานิติวิทยาศาสตร์
- วิชาระเบียบวิธีวิจัย กฎหมาย จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์และสัตว์ทดลอง
- วิชาสัมมนาทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาโครงการวิจัยทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาการฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาเตรียมสหกิจศึกษาทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาสหกิจศึกษาทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
ชื่อ-สกุล นางสาวเพียงฤทัย บุญประสิทธิ์
ตำแหน่งทางวิชาการ อาจารย์
สังกัด สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
ประวัติการศึกษา
พ.ศ. 2555 วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีวัสดุ)
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
พ.ศ. 2552 วิทยาศาสตรบัณฑิต (เคมีอุตสาหกรรม)
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
สาขาที่เชี่ยวชาญ ไบโอพอลิเมอร์ พอลิเมอร์ผสมและวัสดุเชิงประกอบ
ผลงานทางวิชาการ
–
ประสบการณ์การสอน
1) วิชาเคมีทั่วไป
2) วิชาเคมีทั่วไปสำหรับอุตสาหกรรม
3) วิชาเคมีอินทรีย์สำหรับอุตสาหกรรม
4) วิชาปฏิบัติการเคมีอินทรีย์สำหรับอุตสาหกรรม
5) วิชาการวิเคราะห์เชิงปริมาณและคุณภาพ
6) วิชาปฏิบัติการวิเคราะห์เชิงปริมาณและคุณภาพ
7) วิชาเคมีอนินทรีย์สำหรับอุตสาหกรรม
8) วิชาอุตสาหกรรมปิโตรเคมี
9) วิชาความปลอดภัยในอุตสาหกรรมเคมี
10) วิชาเทคนิคการวิเคราะห์เชิงเครื่องมือ
11) วิชาภาษาอังกฤษสำหรับเคมีอุตสาหกรรม
12) วิชานาโนเทคโนโลยี
13) วิชาพอลิเมอร์ผสมและพอลิเมอร์เชิงประกอบ
14) วิชาเทคโนโลยียางและสิ่งทอ
15) วิชาการพิสูจนเอกลักษณและทดสอบวัสดุ
16) วิชาสัมมนาทางเคมีอุตสาหกรรม
17) วิชาโครงการวิจัยทางเคมีอุตสาหกรรม
18) วิชาการฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางเคมีอุตสาหกรรม
ภาระงานสอนที่จะมีในหลักสูตรนี้
- วิชาเคมีสำหรับวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาเคมีวิเคราะห์สำหรับวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาวัสดุศาสตร์ทางการแพทย์
- วิชาปฏิบัติการเครื่องมือวิทยาศาสตร์และการจัดการห้องปฏิบัติการ
- วิชาภาษาอังกฤษสำหรับวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาวัสดุชีวภาพทางการแพทย์
- วิชาวัสดุอนินทรีย์ทางการแพทย์
- วิชาเทคนิคการวิเคราะห์เชิงเครื่องมือ
- วิชามาตรฐานสากลระบบบริหารคุณภาพทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชานาโนเทคโนโลยีทางการแพทย์
- วิชาเทคโนโลยีระบบนำส่งยา
- วิชาชีววัสดุความงาม
- วิชานิติวิทยาศาสตร์
- วิชาระเบียบวิธีวิจัย กฎหมาย จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์และสัตว์ทดลอง
- วิชาสัมมนาทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาโครงการวิจัยทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาการฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาเตรียมสหกิจศึกษาทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิชาสหกิจศึกษาทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
ภาคผนวก ฉ
ประวัติและผลงานทางวิชาการของอาจารย์พิเศษ
ชื่อ-สกุล นางสาวจุฑามาศ วงศ์ภูมิ
ตำแหน่ง นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ ระดับ 7
สังกัด ฝ่ายพยาธิวิทยา โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
ประวัติการศึกษา
พ.ศ. 2562 วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วิทยาศาสตร์การแพทย์)
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
พ.ศ. 2549 วิทยาศาสตรบัณฑิต (ชีววิทยาประยุกต์)
สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
สาขาที่เชี่ยวชาญ การเตรียมตัวอย่างและย้อมสีตัวอย่างชิ้นเนื้อด้วยเทคนิคต่างๆ
ผลงานทางวิชาการ
บทความวิจัย
Surawut, S., Makjaroen, J., Thim-uam, A., Wongphoom, J., Palaga, T., Pisitkun, P., Chindamporn, A. and Leelahavanichku, A. (2019). Increased susceptibility against Cryptococcus neoformans of lupus mouse models (pristane-induction and FcGRIIb deficiency) is associated with activated macrophage, regardless of genetic background. Journal of Microbiology, 57(1), 45-53.
Surawut, S., Panpetch, W., Makjaroen, J., Tangtanatakul, P.,Thim-Uam, A., Wongphoom, J., Tumwasorn, S. and Leelahavanichkul, A. (2018). Helicobacter pylori infection increased anti-dsDNA and enhanced lupus severity in symptomatic FcYRIIb-deficient lupus mice. Frontiers in Microbiology, 9, 1488.
Pinnark, C., Surintrspanont, J., Chaichana, T., Wongphoom, J., Chongpison, Y., Shuangshoti, S. and Assanasen, T. (2018). Significance of MYC/BCL2 double expression in diffuse large B-cell lymphomas: A single-center observational preliminary study of 88 cases. The Bangkok Medical Journal, 14(1), 1-7.
ประสบการณ์ด้านปฏิบัติการ
- ทำงานด้าน Histopathology, Immunohistochemistry, Tissue microarray เป็นเวลา 12 ปี
- ทำงานเป็นอาจารย์พิเศษ รายวิชาไมโครเทคนิค สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ตั้งแต่ปี 2558 ถึงปัจจุบัน
ภาระงานสอนที่จะมีในหลักสูตรนี้
1) วิชากายวิภาคศาสตร์
2) วิชากายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของมนุษย์
3) วิชาพยาธิวิทยา
4) วิชาเนื้อเยื่อวิทยา
ชื่อ-สกุล นางสาวพราว ศุภจริยาวัตร
ตำแหน่ง นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ ชำนาญการพิเศษ
สังกัด สถาบันวิจัยสมุนไพร
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
ประวัติการศึกษา
พ.ศ. 2552 วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (จุลชีววิทยาทางสัตวแพทย์)
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
พ.ศ. 2550 วิทยาศาสตรบัณฑิต (ชีววิทยา)
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สาขาที่เชี่ยวชาญ พิษวิทยาของสมุนไพรในหลอดทดลอง และในสัตว์ทดลอง
ผลงานทางวิชาการ
งานวิจัย
พราว ศุภจริยาวัตร เดชมนตรี วจีสุนทร บุญญาณี ศุภผล ธนวัฒน์ ทองจีน บรรจง ชาวไร่ และพรชัย สินเจริญโภไคย. (2561). การศึกษาพิษเรื้อรังของสารสกัดเมล็ดหมามุ่ยอินเดียในสัตว์ทดลอง. วารสารวิชาการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์. 10(12), 61-72.
พราว ศุภจริยาวัตร สุจริต อุ่นกาศ วิจิตรา สุดห่วง เสกรชตกร บัวเบา และพรชัย สินเจริญโภไคย. (2563). การศึกษาฤทธิ์ก่อกลายพันธุ์ของสารสกัดปอบิด. วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก. 18(3), 548-559.
ประสบการณ์ด้านปฏิบัติการ
- ดำเนินโครงการวิจัยศึกษากระบวนการผลิตวัคซีนเอดส์ ในรูปของ recombinant vaccinia virus โดยใช้ถังปฏิกรณ์ชีวภาพ และ up-scale ถึง pilot plant
- ศึกษากระบวนการผลิตวัคซีนไข้หวัดใหญ่โดยใช้ถังปฏิกรณ์ชีวภาพ
- มีประสบการณ์ในการทำ animal cell culture
- การทำ plaque assay
- มีประสบการณ์ในการทำ ELISA
- มีประสบการณ์ในการตรวจหาเชื้อก่อโรคที่มีการปนเปื้อนในอาหารทั้งวิธี conventional method และ rapid method (dot-ELISA)
- มีประสบการณ์ในการแยกเชื้อแบคทีเรียในกลุ่ม Enterobacteriaceae และการแยกเชื้อราน้ำที่มีความสามารถก่อโรค
- การผลิตโพลีโคลนอลแอนติบอดีต่อ recombinant lectin โดยการฉีดเข้ากระต่ายสายพันธุ์ white New Zealand
- บริหารสารสกัดในการทดสอบพิษเฉียบพลันของผลิตภัณฑ์ส่งตรวจและสารสกัดสมุนไพรในโครงการวิจัย
- บริหารสารสกัดในการศึกษาพิษกึ่งเรื้อรัง/เรื้อรังในสัตว์ทดลองของสารสกัดในโครงการวิจัย
- เก็บอวัยวะ ตัดชิ้นเนื้อ ฝังตัวอย่างอวัยวะ ตัดสไลด์ ย้อมสีสไลด์ เพื่อตรวจวิเคราะห์ทางจุลพยาธิวิทยา
- การทดสอบฤทธิ์ก่อกลายพันธุ์ในเชื้อแบคทีเรียตามวิธีมาตรฐานสากล
- การทดสอบด้าน genotoxicity ในหลอดทดลองตามวิธีมาตรฐานสากล
- ประยุกต์งานด้าน molecular ในการศึกษาพิษวิทยา
ภาระงานสอนที่จะมีในหลักสูตรนี้
1) วิชาเภสัชวิทยาและพิษวิทยา
2) วิชาระเบียบวิธีวิจัย กฎหมาย จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์และสัตว์ทดลอง
3) วิชาภูมิคุ้มกันและเทคโนโลยีการผลิตวัคซีน
4) วิชาการตรวจสอบและการสกัดสารสำคัญจากพืชสมุนไพร
5) วิชาการตรวจหาตัวบ่งชี้ทางชีวภาพของเซลล์มะเร็ง
ชื่อ-สกุล นางสาวสกุลรัตน์ สุนทรฉัตราวัฒน์
ตำแหน่ง นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ปฏิบัติการ
สังกัด ศูนย์เทคโนโลยีชีวภาพทางการแพทย์
สถาบันชีววิทยาศาสตร์ทางการแพทย์
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
ประวัติการศึกษา
พ.ศ. 2545 วิทยาศาสตรบัณฑิต (ชีววิทยาประยุกต์)
สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
สาขาที่เชี่ยวชาญ Molecular Biology
ผลงานทางวิชาการ
บทความวิจัย
ปนัดดา เทพอัคศร อณิชา เลื่องชัยเชวง อภิชัย ประชาสุภาพ สกุลรัตน์ สุนทรฉัตราวัฒน์ กชรัตน์ จงปิติทรัพย์ พรทิพย์ ไชยยะ กวีวรรณ มงคลศิริ พันธ์ธิดา ตรียวง นลินี แสงทอง ภาณุพันธ์ ปัญญาใจ ลภัสรดา มุ่งมงคล กฤศมน โสภณดิลก และอาชวินทร์ โรจนวิวัฒน์. (2563). การพัฒนาและประเมินคุณภาพชุดทดสอบตรวจหาแอนติบอดี IgM/IgG ต่อ SARS-CoV-2 ชนิดรวดเร็วโดยอิมมูโนโครมาโตรกราฟี. วารสารกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์, 62(3), 167-178.
ประสบการณ์ด้านปฏิบัติการ
- การสร้างและผลิตรีคอมบิแนนท์โปรตีน ESAT-6 และ CFP-10 จากเชื้อ Mycobacterium tuberculosis เพื่อพัฒนาการตรวจวินิจฉัยวัณโรค
- การเลี้ยงเชื้อมาลาเรีย Plasmodium falciparum สายพันธุ์ K1 เพื่อใช้ในโครงการวิจัยและพัฒนาชุดน้ำยาตรวจหาเชื้อมาลาเรีย
- วิจัยและพัฒนาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ Interferon Gamma Release Assay (IGRAs) ในการตรวจการติดเชื้อ Mycobacterium tuberculosis ปีพ.ศ. 2560-ปัจจุบัน
- โครงการพัฒนาชุดทดสอบ Interferon Gamma Release Assay (IGRAs) ชนิดใหม่ในการตรวจการติดเชื้อวัณโรค
- การพัฒนาชุดทดสอบ Rapid test หลักการ Immunochromatography เพื่อตรวจการติดเชื้อ SARS-CoV-2 เพื่อรองรับการระบาดของโรค COVID-19 : ชุดทดสอบตรวจหาแอนติเจนและชุดทดสอบตรวจหาแอนติบอดีต่อเชื้อ SARS-CoV-2
- การพัฒนาระบบคุณภาพตามมาตรฐานต่างๆที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ISO9001, ISO13485, ISO15189, ISO15190, ISO17043, GMP, GLP และ GCP
ภาระงานสอนที่จะมีในหลักสูตรนี้
1) วิชามาตรฐานสากลระบบบริหารคุณภาพทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
2) วิชาปรสิตวิทยาและกีฏวิทยาทางการแพทย์
3) วิชาภูมิคุ้มกันและเทคโนโลยีการผลิตวัคซีน
4) วิชาปฏิบัติการชีวโมเลกุลทางการแพทย์
ภาคผนวก ช
คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร
ภาคผนวก ซ
รายงานการวิพากษ์หลักสูตร
รายงานการวิพากษ์หลักสูตร
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาสตร์การแพทย์
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
วันศุกร์ ที่ 11 เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2564
ณ ห้องประชุมบุญฑริก อาคาร 8 ชั้น 7 สำนักวิทยบริการ
สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้จัดให้มีการวิพากษ์หลักสูตรหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565 เมื่อวันศุกร์ ที่ 11 เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2564 ณ ห้องประชุมบุญฑริก อาคาร 8 ชั้น 7 สำนักวิทยบริการ และแบบออนไลน์ โดยมีผู้ทรงคุณวุฒิวิพากษ์หลักสูตร ประกอบด้วย
- ศาสตราจารย์ นพ.พยงค์ จูฑา ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการแพทย์
- รองศาสตราจารย์ สุธน เสถียรยานนท์ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านเคมี
- รองศาสตราจารย์ ดร.เกียรติทวี ชูวงศ์โกมล ผู้ทรงคุณวุฒิด้านชีวเคมีคอมพิวเตอร์
- นางสาวจุฑามาศ วงศ์ภูมิ นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ ระดับ 7
- นางสาวพราว ศุภจริยาวัตร นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ ชำนาญการพิเศษ
- นางสาวสกุลรัตน์ สุนทรฉัตราวัฒน์ นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ ปฏิบัติการ
ผลการวิพากษ์หลักสูตรมีดังนี้
ประเด็น | ข้อเสนอแนะของผู้ทรงคุณวุฒิ |
---|---|
ศาสตราจารย์ นพ.พยงค์ จูฑา | 1) ปรับคำอธิบายรายวิชาสหกิจศึกษา เพื่อให้อาจารย์ได้มีส่วนร่วมในทุกกระบวนการของรายวิชา2) ปรับคำอธิบายรายวิชาให้มีความทันสมัย3) ในการเรียนการสอน ควรเน้นการพัฒนาทักษะด้านภาษาอังกฤษ เนื่องจากจะช่วยให้นักศึกษาสามารถสืบค้นข้อมูล ติดตาม และค้นหาความรู้ใหม่ๆ จากต่างประเทศ |
รองศาสตราจารย์ สุธน เสถียรยานนท์ | ปรับคำอธิบายรายวิชาพื้นฐานให้มีความทันสมัย1) เคมีสำหรับวิทยาศาสตร์การแพทย์ 2) เคมีวิเคราะห์สำหรับวิทยาศาสตร์การแพทย์3) ชีวเคมีสำหรับวิทยาศาสตร์การแพทย์4) ควรเพิ่มเนื้อหาเกี่ยวกับชีวเคมีคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้ในการออกแบบโมเลกุลยา |
รองศาสตราจารย์ ดร.เกียรติทวี ชูวงศ์โกมล | 1) ควรเพิ่มรายวิชาที่เกี่ยวข้องกับผู้ประกอบการรายใหม่2) ปรับรายวิชาในชั้นปีที่ 3 ให้มีปฏิบัติมากยิ่งขึ้น |
นางสาวจุฑามาศ วงศ์ภูมิ | 1) ควรเพิ่มเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับระบบมาตรฐานในห้องปฏิบัติการ เช่น ISO9001, ISO15189, ISO15190 และ ISO134852) ควรเน้นพัฒนาทักษะด้านภาษาอังกฤษ โดยให้แทรกเข้าไปในทุกรายวิชา |
นางสาวพราว ศุภจริยาวัตร | วิชาเอกบังคับ1) ควรเพิ่มเติมวิชาพิษวิทยาเข้าไปในรายวิชาเภสัชวิทยา ให้เป็น “เภสัชวิทยาและพิษวิทยา”2) วิชาระเบียบวิธีวิจัย กฎหมาย และจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ ควรเพิ่มจริยธรรมการวิจัยในสัตว์ทดลอง รวมถึงกฎหมายต่างๆ เช่น พระราชบัญญัติเชื้อก่อโรค3) ในรายวิชาที่เป็นภาคปฏิบัติควรเน้นให้นักศึกษามีการลงมือปฏิบัติงานจริง เช่น งานด้านอณูพันธุศาสตร์ งานด้านเซลล์เพาะเลี้ยง รวมทั้งการใช้เครื่องมือที่ทันสมัย วิชาเอกเลือกควรรวมวิชาเทคนิคการสกัดสารสำคัญจากพืชสมุนไพร วิชาพฤกษศาสตร์การแพทย์ และวิชาการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชสมุนไพร เนื่องจากเป็นวิชาที่เกี่ยวข้องและต่อเนื่องกัน โดยอาจจะมีวิชาที่ผลิตนวัตกรรมจากพืชสมุนไพรขึ้นมา และใช้ชื่อว่ากระบวนการพัฒนาพืชสมุนไพรทางการแพทย์ เพื่อให้ได้นวัตกรรมหรือผลิตภัณฑ์สุขภาพ อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษาควรเขียนและชี้แจงให้ชัดเจนและดึงดูดว่า เมื่อจบจากสาขานี้แล้ว จะมีงานอะไรที่รองรับได้บ้าง เช่น นักวิชาการสาธารณสุข นักวิจัย/บุคลากรในโรงพยาบาลหรือโรงงานเอกชน เป็นต้น เพราะข้อมูลตรงนี้จะเป็นตัวช่วยให้นักศึกษาเลือกว่าจะมาเรียนหลักสูตรนี้ภาษาอังกฤษภาษาอังกฤษสำคัญมากทั้งในเรื่องการเรียนและการทำงาน ควรปลูกฝังโดยเพิ่มเข้าไปในหลักสูตรให้ชัด เช่น ในวิชาสัมมนา และในการเรียนบางวิชาควรให้หาบทความภาษาอังกฤษเพิ่มเติม การนำเสนอผลงานควรหาเวทีการนำเสนอผลงานไม่ว่าจะเป็นโปสเตอร์หรือแบบบรรยายให้กับนักศึกษา หรือทางคณะฯ จัดเวทีการพูดแบบปากเปล่า เพื่อให้นักศึกษากล้าแสดงออก และฝึกนำเสนอในที่สาธารณะ เพื่อเพิ่มความมั่นใจการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ/สหกิจศึกษาเป็นสิ่งที่ดีเนื่องจากการฝึกประสบการณ์ที่มีระยะเวลามากกว่า 3 เดือนขึ้นไป จะทำให้นักศึกษารู้จักปรับตัวเข้ากับสถานการณ์ในชีวิตการทำงานดีขึ้น อาจจะเพิ่มเติมให้นักศึกษามีการทำรายงานและให้นำเสนอผลการฝึกงาน ซึ่งจะไปเชื่อมกับเรื่องการนำเสนอผลงานระบบคุณภาพและมาตรฐานสากลอื่นๆ เพิ่มระบบคุณภาพหรือมาตรฐานสากลอื่นๆ เช่น ISO9001: 2015, ISO15189, ISO17025, GLP เป็นต้น เพราะระบบมาตรฐานนี้ใช้ทั้งในหน่วยงานราชการและเอกชน จะทำให้นักศึกษามีประสิทธิภาพในการทำงานมากยิ่งขึ้นอื่นๆ1) นักศึกษาควรมีทักษะการคิดแบบบูรณาการหรือคิดแบบเชิงวิเคราะห์ สามารถแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ ซึ่งหลักสูตรควรให้นักศึกษาเสนอแนวคิดต่างๆ เพราะเรียนแค่ทฤษฎีบางครั้งอาจจะใช้ในชีวิตจริงไม่ได้ทั้งหมด 2) หลักสูตรควรปลูกฝังให้นักศึกษามีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ความซื่อสัตย์สุจริต และการรักองค์กร |
นางสาวสกุลรัตน์ สุนทรฉัตราวัฒน์ | ควรเพิ่มวิชาที่เรียนรู้เกี่ยวกับ Bioinformatics และปรับเพิ่มวิชาเกี่ยวกับระบบคุณภาพต่างๆ เช่น ISO9001, ISO15189, ISO15190, ISO13485, GLP เป็นต้น |
สรุปการปรับปรุงแก้ไข
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
เหตุผลในการปรับปรุงแก้ไข
การปรับปรุงหลักสูตรในครั้งนี้ ได้พิจารณาถึงรายวิชาที่นักศึกษาจะต้องเรียนตามเกณฑ์มาตรฐานของสาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์ที่สำนักงาน ก.พ. ได้กำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบหลักของนักวิทยาศาสตร์การแพทย์ต้องมีความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการปฏิบัติงานด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ ยุทธศาสตร์และวิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัยที่มีเป้าหมายในการเป็นสถาบันชั้นนำแห่งการเรียนรู้ในการผลิตการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ดนตรี อุตสาหกรรมบริการ และวิทยาศาสตร์สุขภาพที่มีคุณภาพได้มาตรฐานสากล ตอบสนองความต้องการของตลาดแรงงานด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ รวมทั้งปรับกิจกรรมพัฒนานักศึกษาเพื่อให้สอดคล้องกับพันธกิจของมหาวิทยาลัย โดยมุ่งผลิตบัณฑิตให้มีความรู้ มีทักษะในการปฏิบัติงาน มีความคิดเชิงพัฒนา และมีความสามารถในการเป็นผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์การแพทย์
สาระในการปรับปรุงแก้ไข
การปรับปรุงหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565 มีรายละเอียดของสาระการปรับปรุงดังนี้
1) การปรับเพิ่มรายวิชา โดย หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565 ได้ปรับเพิ่มรายวิชา ภาษาอังกฤษสำหรับนักวิทยาศาสตร์ วัสดุศาสตร์ทางการแพทย์ กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของมนุษย์ พยาธิวิทยา เนื้อเยื่อวิทยา เภสัชวิทยาและพิษวิทยา นิติวิทยาศาสตร์ สมุนไพร กัญชา กัญชง และพืชกระท่อมทางการแพทย์ หลักการตลาดและการบัญชี การเป็นผู้ประกอบการทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ รวมทั้งเพิ่มรายวิชาเอกเลือก ประกอบด้วย ปรสิตวิทยาและกีฏวิทยาทางการแพทย์ การตรวจหาตัวบ่งชี้ทางชีวภาพของมะเร็ง จุลทรรศนศาสตร์และภาพชีวภาพ การตรวจสอบและการสกัดสารสำคัญจากพืชสมุนไพร เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการเครื่องมือแพทย์ ความชราภาพทางชีววิทยาและเวชศาสตร์ฟื้นฟูชะลอวัย อุตสาหกรรมเครื่องมือและอุปกรณ์ทางการแพทย์ การผลิตวัสดุและผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ การออกแบบวัสดุทางการแพทย์ด้วยคอมพิวเตอร์ วัสดุชีวภาพทางการแพทย์ วัสดุอนินทรีย์ทางการแพทย์ พฤกษเคมีและผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ เทคนิคการวิเคราะห์เชิงเครื่องมือ วิชามาตรฐานสากลระบบบริหารคุณภาพทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ นาโนเทคโนโลยีทางการแพทย์ เทคโนโลยีระบบนำส่งยา การออกแบบโมเลกุลยา สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ การจัดการขยะติดเชื้อ และเพิ่มกลุ่มวิชาชีพคือเตรียมสหกิจศึกษา และสหกิจศึกษา นอกจากนี้ยังได้ปรับปรุงรายวิชาให้สอดรับกับหลักสูตรวิทยาศาสตร์การแพทย์ ประกอบด้วย เคมีวิเคราะห์สำหรับวิทยาศาสตร์การแพทย์ ชีวเคมีสำหรับวิทยาศาสตร์การแพทย์ จุลชีววิทยา ภาษาอังกฤษสำหรับวิทยาศาสตร์การแพทย์ ปฏิบัติการเครื่องมือวิทยาศาสตร์และการจัดการห้องปฏิบัติการ ปฏิบัติการชีววิทยาโมเลกุลทางการแพทย์ สัมมนาทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ ระเบียบวิธีวิจัย กฎหมาย จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์และสัตว์ทดลอง โครงการวิจัยทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ สถิติสำหรับวิทยาศาสตร์การแพทย์ ภูมิคุ้มกันและเทคโนโลยีการผลิตวัคซีน การเพาะเลี้ยงและการใช้จุลินทรีย์ก่อโรค การเก็บรักษาเซลล์และสายพันธุ์จุลินทรีย์เพื่องานทางการแพทย์ และไวรัสวิทยาทางการแพทย์
2) การสร้างคุณลักษณะที่ดีตามอัตลักษณ์มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยาที่มุ่งเน้นให้บัณฑิตมีจิตสาธารณะ ทักษะสื่อสาร การใช้เทคโนโลยี มีความเป็นไทย และเข้าใจหลักสากล ดังนั้นแต่ละรายวิชาได้กำหนดความรับผิดชอบตามอัตลักษณ์ที่กำหนด รวมทั้งให้เป็นไปตามมาตรฐานการเรียนรู้ทั้ง 5 ด้าน นอกจากนี้หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565 มีจุดเน้นผลิตบัณฑิตที่มีทักษะปฏิบัติการตรวจวิเคราะห์ด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ มีความคิดสร้างสรรค์พัฒนาการทำงาน พัฒนาวิธีทดสอบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ และมีความสามารถในการเป็นผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์การแพทย์ ด้วยการปรับเพิ่มรายวิชาในกลุ่มต่างๆ ได้แก่ กลุ่มทักษะปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ และกลุ่มวัสดุและผลิตภัณฑ์สุขภาพ
ตารางเปรียบเทียบเนื้อหาสาระการปรับปรุง
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจุลชีววิทยา หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560
กับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565
หลักสูตรปรับปรุงพ.ศ. 2560 | หลักสูตรปรับปรุงพ.ศ. 2565 | สิ่งที่ปรับปรุง |
---|---|---|
ชื่อหลักสูตรภาษาไทย : หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจุลชีววิทยาภาษาอังกฤษ : Bachelor of Science Program in Microbiology | ชื่อหลักสูตรภาษาไทย : หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์ ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Science Program in Medical Science | ปรับชื่อหลักสูตรภาษาไทยปรับชื่อหลักสูตรภาษาอังกฤษ |
ชื่อปริญญาชื่อเต็มภาษาไทย : วิทยาศาสตรบัณฑิต (จุลชีววิทยา)ชื่อย่อภาษาไทย : วท.บ. (จุลชีววิทยา)ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ : Bachelor of Science (Microbiology)ชื่อย่อภาษาอังกฤษ : B.Sc. (Microbiology) | ชื่อปริญญาชื่อเต็มภาษาไทย : วิทยาศาสตรบัณฑิต (วิทยาศาสตร์การแพทย์)ชื่อย่อภาษาไทย : วท.บ. (วิทยาศาสตร์การแพทย์)ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ : Bachelor of Science (Medical Science)ชื่อย่อภาษาอังกฤษ : B.Sc. (Medical Science) | ปรับชื่อเต็มปริญญาภาษาไทยปรับชื่อย่อปริญญาภาษาไทยปรับชื่อเต็มปริญญาภาษาอังกฤษปรับชื่อย่อปริญญาภาษาอังกฤษ |
ปรัชญาสร้างบัณฑิตผู้มีความสามารถทางวิชาการ และทักษะวิจัยด้านจุลชีววิทยา มีความคิดสร้างสรรค์ อันจะเป็นกลไกสำคัญที่นำไปสู่การพัฒนานวัตกรรมอาหารเพื่อสุขภาพ | ปรัชญาผลิตบัณฑิตที่มีทักษะปฏิบัติในการทดสอบวิเคราะห์เพื่อสนับสนุนการตรวจวินิจฉัยทางการแพทย์ มีความสามารถในการพัฒนาและการเป็นผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์การแพทย์ | ปรับให้มีความชัดเจน และสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ ยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย เพื่อนำไปสู่การผลิตบัณฑิตที่อัตลักษณ์ที่โดดเด่น |
หลักสูตรปรับปรุงพ.ศ. 2560 | หลักสูตรปรับปรุงพ.ศ. 2565 | สิ่งที่ปรับปรุง | ||||
---|---|---|---|---|---|---|
วัตถุประสงค์เพื่อสร้างบัณฑิตสาขาจุลชีววิทยาที่มีคุณลักษณะดังต่อไปนี้1) มีคุณธรรม จริยธรรม ตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพของตน และคำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวมเป็นหลัก2) มีความรู้ และทักษะทางด้านจุลชีววิทยา สามารถนำความรู้ไปพัฒนานวัตกรรมผลิตภัณฑ์จากจุลินทรีย์ และปรับใช้ในชีวิตประจำวัน เพื่อรองรับทิศทางการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ3) มีความคิดสร้างสรรค์ สามารถคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบตามหลักการทางวิทยาศาสตร์ สังเคราะห์ความรู้จากแหล่งข้อมูลที่เกี่ยวข้องอีกทั้งสามารถดำรงชีวิตภายใต้วิถีทางตามแนวพระราชดำริ เพื่อสังคมสันติและการพัฒนาที่ยั่งยืน4) มีความเป็นผู้นำ สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น รวมทั้งมีความรับผิดชอบต่อสังคมและองค์กร5) มีทักษะสื่อสารดี สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับสถานการณ์ | วัตถุประสงค์เพื่อสร้างบัณฑิตสาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ที่มีคุณลักษณะดังต่อไปนี้1) มีคุณธรรม จริยธรรม มีระเบียบวินัย ปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพทางวิทยาศาสตร์การแพทย์2) มีความรู้และทักษะปฏิบัติในการทดสอบและวิเคราะห์เพื่อสนับสนุนการตรวจวินิจฉัยทางการแพทย์ 3) มีความคิดสร้างสรรค์และวิพากษ์อย่างเป็นระบบตามหลักการทางวิทยาศาสตร์เพื่อนำไปสู่การวิจัยและพัฒนาการทำงาน พัฒนาวิธีทดสอบ พัฒนาผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ และการเป็นผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์การแพทย์4) มีความเป็นผู้นำ มีปฏิสัมพันธ์ที่ดี สามารถทำงานร่วมกับสหวิชาชีพอื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม5) มีทักษะสื่อสารดี สามารถวิเคราะห์ตัวเลข ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับสถานการณ์ในปัจจุบัน | ปรับเพื่อสร้างบัณฑิตให้มี ความเป็นเลิศด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ และเป็นที่ยอมรับของหน่วยงานภาครัฐและเอกชน | ||||
จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 139 หน่วยกิต | จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 128 หน่วยกิต | ปรับลดลง 11 หน่วยกิต | ||||
โครงสร้างหลักสูตร1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไม่น้อยกว่า 32 หน่วยกิต1.1) วิชาศึกษาทั่วไปบังคับ 23 หน่วยกิต1.2) วิชาศึกษาทั่วไปเลือก ไม่น้อยกว่า 9 หน่วยกิต 2) หมวดวิชาเฉพาะ 101 หน่วยกิต2.1) กลุ่มวิชาแกนวิทยาศาสตร์สำหรับจุลชีววิทยา 24 หน่วยกิต2.2) กลุ่มวิชาเฉพาะด้าน 74 หน่วยกิต2.3) กลุ่มวิชาชีพ 3 หน่วยกิต 3) หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต | โครงสร้างหลักสูตร1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต1.1) บังคับ 20 หน่วยกิต1.2) เลือก ไม่น้อยกว่า 9 หน่วยกิต1.3) บังคับเลือก ไม่น้อยกว่า 1 หน่วยกิต2) หมวดวิชาเฉพาะ 92 หน่วยกิต2.1) กลุ่มวิชาแกนวิทยาศาสตร์ 13 หน่วยกิต2.2) กลุ่มวิชาเฉพาะด้าน 72 หน่วยกิต2.3) กลุ่มวิชาพื้นฐานวิชาชีพ และวิชาชีพ 7 หน่วยกิต แผนการเรียนฝึกประสบการณ์วิชาชีพ แผนการเรียนสหกิจศึกษา 3) หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต | ปรับลดลง 2 หน่วยกิต เพิ่มการบูรณาการรายวิชาลดหน่วยกิตกลุ่มวิชาแกนลดหน่วยกิตกลุ่มวิชาเฉพาะเพิ่มหน่วยกิตกลุ่มวิชาชีพ เพิ่มแผนการเรียนสหกิจศึกษา | ||||
รายวิชาหมวดวิชาศึกษาทั่วไป | ||||||
1.1) วิชาศึกษาทั่วไปบังคับ | 1.1) วิชาศึกษาทั่วไปบังคับ | |||||
กลุ่มที่ 1 ศาสตร์พระราชาและวิถีแห่งสังคม | ||||||
– | – | – | GE 01101 | ศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาท้องถิ่น | 3(3-0-6) | เพิ่มรายวิชา |
กลุ่มที่ 2 ภาษาและเทคโนโลยีทางการสื่อสาร | ||||||
9111102 | ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร | 3(2-2-5) | GE 02101 | ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในยุคดิจิทัล | 3(3-0-6) | ปรับรายวิชา |
9111103 | ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน | 3(2-2-5) | ||||
9111101 | ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร | 3(2-2-5) | GE 02102 | ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารร่วมสมัย | 3(3-0-6) | ปรับรายวิชา |
กลุ่มที่ 3 คุณภาพชีวิตและคุณค่าของความเป็นมนุษย์ | ||||||
9121101 | ทักษะชีวิต | 3(3-0-6) | GE 03101 | ชีวิตดีมีความสุข | 2(1-2-3) | ปรับรายวิชา |
กลุ่มที่ 4 ศิลปะแห่งการจัดการและเป็นผู้ประกอบการ | ||||||
– | – | – | GE 04101 | ประกอบการธุรกิจเชิงสร้างสรรค์ | 3(3-0-6) | เพิ่มรายวิชา |
กลุ่มที่ 5 ศาสตร์แห่งการคิดและการสร้างสรรค์นวัตกรรม | ||||||
– | – | – | GE 05101 | รู้คิดชีวิตก้าวหน้า | 3(3-0-6) | เพิ่มรายวิชา |
9132201 | เทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสังคมออนไลน์ | 3(2-2-5) | GE 05102 | ทักษะการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล | 3(2-2-5) | ปรับรายวิชา |
9132202 | เทคโนโลยีสื่อดิจิทัลในชีวิตประจำวัน | 3(2-2-5) | ||||
9131101 | วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในชีวิตประจำวัน | 3(2-2-5) | – | – | – | ปรับออก |
9131102 | ทักษะการเรียนรู้และแก้ปัญหาเชิงคณิตศาสตร์ | 3(2-2-5) | – | – | – | ปรับออก |
1.2) วิชาศึกษาทั่วไปเลือก | 1.2) วิชาศึกษาทั่วไปเลือก | |||||
กลุ่มที่ 1 ศาสตร์พระราชาและวิถีแห่งสังคม | ||||||
9121103 | ความเป็นพลเมือง | 1(1-0-2) | GE 01201 | วิถีพลเมืองและกฎหมายในชีวิตประจำวัน | 3(3-0-6) | ปรับรายวิชา |
9121102 | สังคมไทยและสังคมโลกในศตวรรษที่ 21 | 3(3-0-6) | GE 01202 | พลวัตสังคมไทยและสังคมโลก | 3(3-0-6) | ปรับรายวิชา |
กลุ่มที่ 2 ภาษาและเทคโนโลยีทางการสื่อสาร | ||||||
– | – | – | GE 02201 | การรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศ | 3(3-0-6) | เพิ่มรายวิชา |
9112108 | ภาษาและวัฒนธรรมเกาหลี | 3(2-2-5) | GE 02202 | ภาษาเกาหลีในชีวิตประจำวัน | 3(3-0-6) | ปรับรายวิชา |
9112104 | ภาษาและวัฒนธรรมเขมร | 3(2-2-5) | GE 02203 | ภาษาเขมรในชีวิตประจำวัน | 3(3-0-6) | ปรับรายวิชา |
9112106 | ภาษาและวัฒนธรรมจีน | 3(2-2-5) | GE 02204 | ภาษาจีนในชีวิตประจำวัน | 3(3-0-6) | ปรับรายวิชา |
9112107 | ภาษาและวัฒนธรรมญี่ปุ่น | 3(2-2-5) | GE 02205 | ภาษาญี่ปุ่นในชีวิตประจำวัน | 3(3-0-6) | ปรับรายวิชา |
9112105 | ภาษาและวัฒนธรรมมลายู | 3(2-2-5) | GE 02206 | ภาษามลายูในชีวิตประจำวัน | 3(3-0-6) | ปรับรายวิชา |
9112101 | ภาษาและวัฒนธรรมลาว | 3(2-2-5) | GE 02207 | ภาษาลาวในชีวิตประจำวัน | 3(3-0-6) | ปรับรายวิชา |
9112103 | ภาษาและวัฒนธรรมเวียดนาม | 3(2-2-5) | GE 02208 | ภาษาเวียดนามในชีวิตประจำวัน | 3(3-0-6) | ปรับรายวิชา |
– | – | – | GE 02209 | ภาษาสเปนในชีวิตประจำวัน | 3(3-0-6) | เพิ่มรายวิชา |
9112102 | ภาษาและวัฒนธรรมพม่า | 3(2-2-5) | – | – | – | ปรับออก |
กลุ่มที่ 3 คุณภาพชีวิตและคุณค่าของความเป็นมนุษย์ | ||||||
9122203 | สุนทรียะทางศิลปกรรม | 3(3-0-6) | GE 03201 | ศิลปะและความงามของชีวิต | 3(3-0-6) | ปรับรายวิชา |
GE 03202 | ศิลปะการใช้ชีวิต | 3(3-0-6) | ||||
กลุ่มที่ 4 ศิลปะแห่งการจัดการและเป็นผู้ประกอบการ | ||||||
– | – | – | GE 04201 | การวางแผนทางการเงินเพื่อความมั่นคง | 3(3-0-6) | เพิ่มรายวิชา |
9122204 | ความสุขแห่งชีวิต | 3(3-0-6) | GE 04202 | การทำงานอย่างมีความสุข | 3(3-0-6) | ปรับรายวิชา |
กลุ่มที่ 5 ศาสตร์แห่งการคิดและการสร้างสรรค์นวัตกรรม | ||||||
– | – | – | GE 05201 | เทคโนโลยีดิจิทัลสำหรับนักธุรกิจมือใหม่ | 3(2-2-5) | เพิ่มรายวิชา |
– | – | – | GE 05202 | รักษ์โลกรักษ์เรา | 3(3-0-6) | เพิ่มรายวิชา |
9122201 | การจัดการสมัยใหม่และภาวะผู้นำ | 3(3-0-6) | – | – | – | ปรับออก |
9122202 | การสื่อสารในชีวิตประจำวัน | 3(3-0-6) | – | – | – | ปรับออก |
9132203 | เทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน | 3(3-0-6) | – | – | – | ปรับออก |
9132204 | สุขภาพและความงาม | 3(3-0-6) | – | – | – | ปรับออก |
1.3) วิชาศึกษาทั่วไปบังคับเลือก | ||||||
– | – | – | GE 03301 | จังหวะของชีวิต | 1(0-2-1) | เพิ่มรายวิชา |
9141101 | กิจกรรมทางกายเพื่อชีวิต | 1(0-2-1) | GE 03302 | การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ | 1(0-2-1) | ปรับรายวิชา |
– | – | – | GE 03303 | การเต้นสมัยใหม่ | 1(0-2-1) | เพิ่มรายวิชา |
รายวิชาหมวดวิชาเฉพาะ | รายวิชาหมวดวิชาเฉพาะ | |||||
กลุ่มวิชาแกนวิทยาศาสตร์สำหรับจุลชีววิทยา | กลุ่มวิชาแกนวิทยาศาสตร์สำหรับวิทยาศาสตร์การแพทย์ | |||||
4101101 | แคลคูลัส 1 | 3(3-0-6) | SC 01101 | คณิตศาสตร์เบื้องต้น | 3(2-2-5) | ปรับรายวิชา |
4101102 | แคลคูลัส 2 | 3(3-0-6) | ||||
4104101 | ฟิสิกส์ 1 | 3(3-0-6) | SC 01103 | ฟิสิกส์เบื้องต้น | ปรับรายวิชา | |
4104102 | ปฏิบัติการฟิสิกส์ 1 | 1(0-3-1) | ||||
4105101 | ชีววิทยา 1 | 3(3-0-6) | SC 01010SC 01011 | ชีววิทยา 1ปฏิบัติการชีววิทยา 1 | 3(3-0-6)1(0-3-1) | ปรับรายวิชาปรับรายวิชา |
4105102 | ปฏิบัติการชีววิทยา 1 | 1(0-3-1) | ||||
4105103 | ชีววิทยา 2 | 2(2-0-4) | ||||
4105104 | ปฏิบัติการชีววิทยา 2 | 1(0-3-1) | ||||
กลุ่มวิชาเฉพาะด้าน | กลุ่มวิชาเฉพาะด้าน | |||||
วิชาเอกบังคับ | วิชาเอกบังคับ | |||||
4102102 | เคมี 1 | 3(3-0-6) | SC 13101 | เคมีสำหรับวิทยาศาสตร์การแพทย์ | 3(2-2-5) | ปรับรายวิชา |
4102103 | ปฏิบัติการเคมี 1 | 1(0-3-1) | ||||
4102104 | เคมี 2 | 2(2-0-4) | ||||
4102105 | ปฏิบัติการเคมี 2 | 1(0-3-1) | ||||
4102241 | เคมีวิเคราะห์ | 3(3-0-6) | SC 13102 | เคมีวิเคราะห์สำหรับวิทยาศาสตร์การแพทย์ | 3(2-2-5) | ปรับรายวิชา |
4102242 | ปฏิบัติการเคมีวิเคราะห์ | 1(0-3-1) | ||||
4102205 | ชีวเคมีทั่วไป | 3(3-0-6) | SC 13103 | ชีวเคมีสำหรับวิทยาศาสตร์การแพทย์ | 3(2-2-5) | ปรับรายวิชา |
4102206 | ปฏิบัติการชีวเคมีทั่วไป | 1(0-3-1) | ||||
4104201 | จุลชีววิทยา | 3(3-0-6) | SC 13104SC 13204 | จุลชีววิทยาการเพาะเลี้ยงและการใช้จุลินทรีย์ก่อโรค | 3(2-2-5)3(2-2-5) | ปรับรายวิชาปรับรายวิชา |
4104202 | ปฏิบัติการจุลชีววิทยา | 1(0-3-1) | ||||
4104204 | วิทยาแบคทีเรีย | 3(2-2-5) | ||||
4104205 | สาหร่ายวิทยา | 3(2-2-5) | ||||
4104302 | เห็ดราวิทยา | 3(2-2-5) | ||||
4104308 | ยีสต์และเทคโนโลยีของยีสต์ | 3(2-2-5) | ||||
4104304 | สรีรวิทยาของจุลินทรีย์ | 3(2-2-5) | ||||
4104203 | ภาษาอังกฤษสำหรับจุลชีววิทยา 1 | 3(2-2-5) | SC 13201 | ภาษาอังกฤษสำหรับวิทยาศาสตร์การแพทย์ | 3(3-0-6) | ปรับรายวิชา |
4104301 | ภาษาอังกฤษสำหรับจุลชีววิทยา 2 | 3(2-2-5) | ||||
4104306 | ภาษาอังกฤษสำหรับจุลชีววิทยา 3 | 3(2-2-5) | ||||
4104206 | การใช้เครื่องมือทางจุลชีววิทยา | 1(0-3-1) | SC 13202 SC 13303 | ปฏิบัติการเครื่องมือวิทยาศาสตร์และการจัดการห้องปฏิบัติการมาตรฐานสากลระบบบริหารคุณภาพทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ | 1(0-3-1) 3(3-0-6) | ปรับรายวิชา ปรับรายวิชา |
4104401 | ความปลอดภัยทางชีวภาพในห้องปฏิบัติการทางจุลชีววิทยา | 1(1-0-2) | ||||
4104402 | ระบบการควบคุมคุณภาพและประกันคุณภาพด้านจุลชีววิทยา | 2(1-2-3) | ||||
4104305 | พันธุศาสตร์และพันธุวิศวกรรมจุลินทรีย์ | 3(2-2-5) | SC 13203 | ปฏิบัติการชีววิทยาโมเลกุลทางการแพทย์ | 1(0-3-1) | ปรับรายวิชา |
4104410 | เทคโนโลยีชีวภาพจุลินทรีย์ | 3(2-2-5) | ||||
– | – | – | SC 13205 | วัสดุศาสตร์ทางการแพทย์ | 3(2-2-5) | เพิ่มรายวิชา |
4104207 | วิทยาไวรัส | 3(2-2-5) | SC 13206 | ไวรัสวิทยาทางการแพทย์ | 3(2-2-5) | ปรับรายวิชา |
– | – | – | SC 13207 | กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของมนุษย์ | 3(3-0-6) | เพิ่มรายวิชา |
– | – | – | SC 13208 | พยาธิวิทยา | 3(2-2-5) | เพิ่มรายวิชา |
– | – | – | SC 13209 | เนื้อเยื่อวิทยา | 3(2-2-5) | เพิ่มรายวิชา |
– | – | – | SC 13301 | กัญชา กัญชง และพืชกระท่อมทางการแพทย์ | 3(2-2-5) | เพิ่มรายวิชา |
– | – | – | SC 13302 | เภสัชวิทยาและพิษวิทยา | 3(3-0-6) | เพิ่มรายวิชา |
– | – | – | SC 13304 | หลักการตลาดและการบัญชี | 3(3-0-6) | เพิ่มรายวิชา |
– | – | – | SC 13305 | การเป็นผู้ประกอบการทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ | 3(3-0-6) | เพิ่มรายวิชา |
4104307 | โครงการวิจัยทางจุลชีววิทยา 1 | 1(0-3-1) | SC 13307 | ระเบียบวิธีวิจัย จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์และสัตว์ทดลอง | 1(1-0-2) | ปรับรายวิชา |
4105319 | ชีวสถิติ | 3(3-0-6) | SC 13306 | สถิติสำหรับวิทยาศาสตร์การแพทย์ | 3(3-0-6) | ปรับรายวิชา |
วิชาเอกเลือก | วิชาเอกเลือก | |||||
(1) กลุ่มปฏิบัติการทางการแพทย์ | ||||||
– | – | – | SC 13308 | ปรสิตวิทยาและกีฏวิทยาทางการแพทย์ | 3(2-2-5) | เพิ่มรายวิชา |
4104303 | ภูมิคุ้มกันวิทยา | 3(2-2-5) | SC 13309 | ภูมิคุ้มกันและเทคโนโลยีการผลิตวัคซีน | 3(2-2-5) | ปรับรายวิชา |
4104314 | จุลชีววิทยาทางการแพทย์ | 3(2-2-5) | ||||
– | – | – | SC 13310 | การตรวจหาตัวบ่งชี้ทางชีวภาพของมะเร็ง | 3(2-2-5) | เพิ่มรายวิชา |
– | – | – | SC 13311 | นิติวิทยาศาสตร์ | 3(2-2-5) | เพิ่มรายวิชา |
4104208 | การเก็บรักษาเชื้อจุลินทรีย์ | 3(2-2-5) | SC 13312 | การเก็บรักษาเซลล์และสายพันธุ์จุลินทรีย์เพื่องานทางการแพทย์ | 3(2-2-5) | ปรับรายวิชา |
– | – | – | SC 13313 | จุลทรรศนศาสตร์และภาพชีวภาพ | 3(2-2-5) | เพิ่มรายวิชา |
– | – | – | SC 13314 | การตรวจสอบและการสกัดสารสำคัญจากพืชสมุนไพร | 3(2-2-5) | เพิ่มรายวิชา |
– | – | – | SC 13315 | เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการเครื่องมือแพทย์ | 3(3-0-6) | เพิ่มรายวิชา |
– | – | – | SC 13316 | ความชราภาพทางชีววิทยาและเวชศาสตร์ฟื้นฟูชะลอวัย | 3(3-0-6) | เพิ่มรายวิชา |
4104209 | ความหลากหลายทางชีวภาพของจุลินทรีย์ | 3(2-2-5) | – | – | – | ปรับออก |
4104309 | นิเวศวิทยาของจุลินทรีย์ | 3(2-2-5) | – | – | – | ปรับออก |
4104310 | จุลชีววิทยาทางอุตสาหกรรม | 3(2-2-5) | – | – | – | ปรับออก |
4104311 | จุลชีววิทยาทางอาหาร | 3(2-2-5) | – | – | – | ปรับออก |
4104312 | จุลชีววิทยาทางการเกษตร | 3(2-2-5) | – | – | – | ปรับออก |
4104313 | จุลชีววิทยาทางสิ่งแวดล้อม | 3(2-2-5) | – | – | – | ปรับออก |
4104315 | จุลชีววิทยาทางดิน | 3(2-2-5) | – | – | – | ปรับออก |
4104316 | จุลชีววิทยาของผลิตภัณฑ์นม | 3(2-2-5) | – | – | – | ปรับออก |
4104317 | โรคพืช | 3(2-2-5) | – | – | – | ปรับออก |
4104318 | เห็ดและการผลิตเห็ด | 3(2-2-5) | – | – | – | ปรับออก |
4104406 | เทคโนโลยีเอนไซม์ | 3(2-2-5) | – | – | – | ปรับออก |
4104407 | เทคโนโลยีอาหารหมัก | 3(2-2-5) | – | – | – | ปรับออก |
4104408 | จุลชีววิทยาตามแนวโครงการพระราชดำริ | 3(2-2-5) | – | – | – | ปรับออก |
4104409 | จุลชีววิทยากับภูมิปัญญาท้องถิ่น | 3(2-2-5) | – | – | – | ปรับออก |
(2) กลุ่มวัสดุและผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ | ||||||
4104405 | นวัตกรรมผลิตภัณฑ์จุลินทรีย์ | 3(2-2-5) | SC 13317 | อุตสาหกรรมเครื่องมือและผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ | 3(3-0-6) | ปรับรายวิชา |
SC 13318 | การผลิตวัสดุและผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ | 3(2-2-5) | ปรับรายวิชา | |||
– | – | – | SC 13319 | การออกแบบวัสดุทางการแพทย์ด้วยคอมพิวเตอร์ | 3(2-2-5) | เพิ่มรายวิชา |
– | – | – | SC 13320 | วัสดุชีวภาพทางการแพทย์ | 3(2-2-5) | เพิ่มรายวิชา |
– | – | – | SC 13321 | วัสดุอนินทรีย์ทางการแพทย์ | 3(3-0-6) | เพิ่มรายวิชา |
– | – | – | SC 13322 | พฤกษเคมีและผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ | 3(3-0-6) | เพิ่มรายวิชา |
– | – | – | SC 13323 | เทคนิคการวิเคราะห์เชิงเครื่องมือ | 3(2-2-5) | เพิ่มรายวิชา |
– | – | – | SC 13324 | นาโนเทคโนโลยีทางการแพทย์ | 3(3-0-6) | เพิ่มรายวิชา |
– | – | – | SC 13325 | เทคโนโลยีระบบนำส่งยา | 3(3-0-6) | เพิ่มรายวิชา |
– | – | – | SC 13326 | การออกแบบโมเลกุลยา | 3(3-0-6) | เพิ่มรายวิชา |
– | – | – | SC 13327 | สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ | 3(3-0-6) | เพิ่มรายวิชา |
– | – | – | SC 13328 | การจัดการขยะติดเชื้อ | 3(3-0-6) | เพิ่มรายวิชา |
กลุ่มวิชาชีพ | กลุ่มวิชาชีพ | |||||
แผนการเรียนฝึกประสบการณ์วิชาชีพ | ||||||
4104404 | สัมมนาทางจุลชีววิทยา | 1(0-3-1) | SC 13401 | สัมมนาทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ | 1(0-2-1) | ปรับรายวิชา |
4104403 | โครงการวิจัยทางจุลชีววิทยา 2 | 2(0-4-1) | SC 13402 | โครงการวิจัยทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ | 3(0-6-3) | ปรับรายวิชา |
4106409 | การฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางจุลชีววิทยา | 3(350) | SC 13403 | การฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ | 3(300) | ปรับรายวิชา และปรับลดชั่วโมงการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ |
แผนการเรียนสหกิจศึกษา | ||||||
– | – | – | SC 13404 | เตรียมสหกิจศึกษาทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ | 1(0-2-1) | เพิ่มรายวิชา |
– | – | – | SC 13405 | สหกิจศึกษาทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ | 6(640) | เพิ่มรายวิชา |
หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า | 6 | หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า | 6 | – |